ประวัติความเป็นมา.................วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณมีมาแต่ การแปล - ประวัติความเป็นมา.................วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณมีมาแต่ อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมา.................ว

ประวัติความเป็นมา
.................วัดอรุณราชวราราม เป็นวัดโบราณมีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยายังเป็นราชธานี มีชื่อเรียกเดิมว่า วัดมะกอก สมัยกรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุร ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์ แล้วเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น วัดแจ้ง สาเหตุที่เปลี่ยนชื่อวัดจากวัดมะกอกมาเป็นวัดแจ้งก็เพราะว่า เมื่อสมัยที่พระเจ้ากรุงธนบุรี
ได้ปราบศัตรูที่อยุธยาและคนไทยมีอิสระภาพขึ้นดังเดิมแล้ว แต่ไม่สามารถจะตั้งอาศัยอยู่ ณ ราชธานีเดิม คือกรุงเก่าต่อมาได้ จึงพากันล่องลงมาตามลำแม่น้ำเจ้าพระยา เพื่อหาที่ตั้งราชธานีใหม่ พอลงมาถึงหน้าวัดมะกอกนี้ ก็พอดีรุ่งแจ้ง พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงพระราชดำริเห็นเป็นอุดมมหามงคลฤกษ์ จึงโปรดให้ยับยั้ง
กระบวนผู้คน ให้เทียบเรือพระที่นั่งเข้ากับท่าน้ำ เสด็จขึ้นไปทรงสักการะบูชา พระมหาธาตุ คือพระพุทธปรางค์องค์เดิม ซึ่งประดิษฐานอยู่ริมฝั่งแม่น้ำข้างหน้าวัด ต่อมาได้โปรดให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัด แล้วเปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็นวัดแจ้งเพื่อให้เหมาะสมกับเหตุการณ์มาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เสด็จมาประทับอยู่ ณ พระราชวังเดิมข้างใต้วัดแจ้ง แต่เมื่อปีพ.ศ. ๒๓๒๘ ทรง
มอบหน้าที่ให้บำรุงบูรณะปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่หมดทั้งวัด แต่การปฏิสังขรณ์ ทำได้สำเร็จเพียงกุฏีสงฆ์ ส่วนพระอุโบสถและพระวิหารยังไม่ทันเสร็จก็สิ้นรัชกาลที่ ๑
..................... ในสมัยรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติแล้ว ได้ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อ โปรดให้สร้างพระอุโบสถ และพระวิหารต่อจากที่เริ่มสร้างไว้แล้วในสมัยรัชกาลที่ ๑ ที่พระอุโบสถโปรดให้สร้างพระระเบียงล้อมรอบ การสร้งพระอุโบสถและพระวิหารเสร็จแล้ว ยังโปรดให้
บูรณะพระอุโบสถและพระวิหารเก่าหน้าพระปรางค์หน้าวัด กับสร้างศาลาการเปรียญขึ้น ๑ หลัง การปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ สำเร็จเรียบร้อย ก็มีการฉลองและพระราชทานนามวัดนี้ใหม่ว่า วัดอรุณราชวราราม ต่อมา ทรงมีพระราชศรัทธาที่จะสถาปนาพระมหาธาตุหรือพระพุทธปรางค์ข้างหน้าวัด ขึ้นใหม่ให้เป็นที่งามสง่า พระปรางค์เดิมสูงเพียง ๘ วา ทรงพระราชดำริว่าควรจะเสริมสร้างให้ใหญ่สูงเป็นพระมหาธาตุสำหรับพระนคร จึงโปรดให้กำหนดการลงมือขุดคลองรากทำเป็นฐาน แต่การยังไม่สำเร็จก็พอดีสิ้นรัชกาลที่ ๒ เสียก่อน
..........................รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติสืบมาจนเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๘๕ ทรงพระราชดำริถึงพระมหาธาตุที่วัดอรุณฯ ซึ่งสมเด็จพระบรมชนกนาถทรงพระราชดำริไว้และค้างอยู่นั้น ควรจะดำเนินการให้สำเร็จดังพระราชประสงค์ จึงได้ทรงคิดแบบอย่างแล้วโปรดให้ลงมือสร้าง
พระพุทธปรางค์ เป็นพระมหาเจดีย์สูง ๑ เส้น ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๑ นิ้ว ฐานวัดโดยรอบได้ ๕ เส้น ๑๗ วาในรัชกาลนี้ ยังโปรดให้สร้างพระมณฑป ขึ้นระหว่างพระอุโบสถกับพระวิหารที่สร้างขึ้นใหม่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง กับสร้างพระเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้ ๑๒ ขึ้น ๔ องค์ ในบริเวณด้านใต้
พระระเบียง และยังโปรดให้สร้างซุ้มประตูในย่างกลางพระระเบียง ตรงหน้าพระอุโบสถออกมา ทำเป็นยอดทรงมงกุฏ และสร้างยักษ์ยืนคู่หนึ่งประจำที่หน้าซุ้มประตูด้านนี้ด้วย
.....................เมื่อรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติแล้ว ต่อมาโปรดให้สร้างและปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมขึ้นอีกหลายอย่าง เช่น สร้างบุษบกยอดเป็นทรงปรางค์ขึ้นที่ผนังหุ้มกลอง ด้านหน้าพระอุโบสถ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเครื่องอย่างพระมหาจักรพรรดิ์
แห่งหนึ่ง กับที่ผนังหุ้มกลองด้านหลังพระอุโบสถอีกแห่งหนึ่ง กับโปรดให้ประดับฝาผนังด้านนอกพระอุโบสถและพระวิหารด้วยกระเบื้องเคลือบสีต่าง ๆ
...................อนึ่ง พระประธานในพระอุโบสถ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงปั้นหุ่นด้วยฝีพระหัตถ์ นั้นยังไม่มีพระนาม จึงพระราชทานนามถวายว่า พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก และที่โปรดให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ ณ พระพุทธบัลลังก์ของ
พระประธานองค์นี้ด้วย กับที่พระวิหารโปรดให้อัญเชิญพระอรุณ ที่อัญเชิญมาแต่เวียงจันทน์ มาประดิษฐานไว้ในพระวิหารอยู่ข้างหน้า พระพุทธชัมภูนุชมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร พระประธานในพระวิหารนั้นเมื่อการ บูรณะปฏิสังขรณ์วัดสำเร็จแล้ว ได้พระราชทานนามใหม่ว่า วัดอรุณราชวราราม ดังที่เรียกกันจนถึงทุกวันนี้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
HistoryWat Arun ................. as ancient temples have come, but also historically. Originally named the olive Temple Thon buri Taksin graciously, restoration, and then renamed as WAT Chaeng. The reason that the Temple of Wat temple olive tell, when the reign of God which. Have the vanquish and Thailand people freedom, so the original and can't be set live at the reigning monarch, formerly old later. So cruise down along the Chao Phraya River. To find the location of the reigning monarch, the new. Enough to fit this, it Temple rising olive tell. God saw sacks slung krung Thonburi is enriched so nebulous, moreover, please restrain.Processes, people, Port Royal entrance to the pier to worship. Phra mahathat is Buddha the original element, which is the River, in front of the temple during later had restored the temple and the temple is measured to fit the event arrives, the mod was Rattanakosin. King Rama I the great skyline. Please provide the capital Department of Prince ison came at the Palace were Robert Wheeler originally under the measure notified in shape but 2328.Grants to provide nourishment during the restoration, Wat Chaeng. King's Navy Chao FAH Luang Temple Restoration restored the monarchy sunthorn ison notify all new restoration successful but only Kung tisong. Section of the temple and the temple not yet completed, it is the end of the reign...................... 2 in the reign of King Rama crowned as he came to the throne, and then to govern. During the restoration, he notified temple built the temple and the temple where it began, in the reign of the 1 that God built the surrounding balcony. Scanning managed the temple and the temple is finished yet, please provide.บูรณะพระอุโบสถและพระวิหารเก่าหน้าพระปรางค์หน้าวัด กับสร้างศาลาการเปรียญขึ้น ๑ หลัง การปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ สำเร็จเรียบร้อย ก็มีการฉลองและพระราชทานนามวัดนี้ใหม่ว่า วัดอรุณราชวราราม ต่อมา ทรงมีพระราชศรัทธาที่จะสถาปนาพระมหาธาตุหรือพระพุทธปรางค์ข้างหน้าวัด ขึ้นใหม่ให้เป็นที่งามสง่า พระปรางค์เดิมสูงเพียง ๘ วา ทรงพระราชดำริว่าควรจะเสริมสร้างให้ใหญ่สูงเป็นพระมหาธาตุสำหรับพระนคร จึงโปรดให้กำหนดการลงมือขุดคลองรากทำเป็นฐาน แต่การยังไม่สำเร็จก็พอดีสิ้นรัชกาลที่ ๒ เสียก่อน..........................รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติสืบมาจนเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๘๕ ทรงพระราชดำริถึงพระมหาธาตุที่วัดอรุณฯ ซึ่งสมเด็จพระบรมชนกนาถทรงพระราชดำริไว้และค้างอยู่นั้น ควรจะดำเนินการให้สำเร็จดังพระราชประสงค์ จึงได้ทรงคิดแบบอย่างแล้วโปรดให้ลงมือสร้างพระพุทธปรางค์ เป็นพระมหาเจดีย์สูง ๑ เส้น ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ ๑ นิ้ว ฐานวัดโดยรอบได้ ๕ เส้น ๑๗ วาในรัชกาลนี้ ยังโปรดให้สร้างพระมณฑป ขึ้นระหว่างพระอุโบสถกับพระวิหารที่สร้างขึ้นใหม่ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง กับสร้างพระเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้ ๑๒ ขึ้น ๔ องค์ ในบริเวณด้านใต้พระระเบียง และยังโปรดให้สร้างซุ้มประตูในย่างกลางพระระเบียง ตรงหน้าพระอุโบสถออกมา ทำเป็นยอดทรงมงกุฏ และสร้างยักษ์ยืนคู่หนึ่งประจำที่หน้าซุ้มประตูด้านนี้ด้วย.....................เมื่อรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติแล้ว ต่อมาโปรดให้สร้างและปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ ในวัดอรุณฯ เพิ่มเติมขึ้นอีกหลายอย่าง เช่น สร้างบุษบกยอดเป็นทรงปรางค์ขึ้นที่ผนังหุ้มกลอง ด้านหน้าพระอุโบสถ เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเครื่องอย่างพระมหาจักรพรรดิ์ แห่งหนึ่ง กับที่ผนังหุ้มกลองด้านหลังพระอุโบสถอีกแห่งหนึ่ง กับโปรดให้ประดับฝาผนังด้านนอกพระอุโบสถและพระวิหารด้วยกระเบื้องเคลือบสีต่าง ๆ...................อนึ่ง พระประธานในพระอุโบสถ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงปั้นหุ่นด้วยฝีพระหัตถ์ นั้นยังไม่มีพระนาม จึงพระราชทานนามถวายว่า พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก และที่โปรดให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ ณ พระพุทธบัลลังก์ของพระประธานองค์นี้ด้วย กับที่พระวิหารโปรดให้อัญเชิญพระอรุณ ที่อัญเชิญมาแต่เวียงจันทน์ มาประดิษฐานไว้ในพระวิหารอยู่ข้างหน้า พระพุทธชัมภูนุชมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร พระประธานในพระวิหารนั้นเมื่อการ บูรณะปฏิสังขรณ์วัดสำเร็จแล้ว ได้พระราชทานนามใหม่ว่า วัดอรุณราชวราราม ดังที่เรียกกันจนถึงทุกวันนี้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: