ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ หรือ สนามบิ การแปล - ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ หรือ สนามบิ อังกฤษ วิธีการพูด

ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิท่าอาก

ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ หรือ สนามบินสุวรรณภูมิ (ชื่อเดิม: สนามบินหนองงูเห่า) เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ ถนนบางนา-ตราด ในตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เปิดใช้งานวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยใช้งานแทนท่าอากาศยานดอนเมือง นโยบายรัฐบาลได้กำหนดท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ และจะเป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์

จากข้อมูลการจัดอันดับล่าสุดของเว็บไซต์ "สมาร์ตทราเวลดอตคอม" ที่มีการสำรวจความเห็นของผู้เดินทางทั่วโลกเปิดเผยว่า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิของไทยนั้นได้รับการจัดอันดับให้เป็นท่าอากาศยานยอดเยี่ยมอันดับที่ 4 ของโลก รองจากท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี และท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ของมาเลเซีย

ชื่อสนามบิน

ชื่อของสนามบินสุวรรณภูมิ มีความหมายว่า "แผ่นดินทอง" เป็นชื่อพระราชทานโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2543 และเสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2545

ชื่อสากลของสนามบินสะกดตามการถ่ายตัวสะกดภาษาสันสกฤต ว่า "Suvarnabhumi" แทนการเขียนทับศัพท์ตามระบบราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งสะกดว่า "Suwannaphum"

ประวัติความเป็นมา

รัฐบาลทหารของจอมพลถนอม กิตติขจร ได้ซื้อที่ดินหนองน้ำ 20,000 ไร่ บริเวณหนองงูเห่า จังหวัดสมุทรปราการในปี พ.ศ. 2516 สำหรับสร้างสนามบินใหม่

เวลาเกือบ 30 ปีต่อมา รัฐบาลของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ได้เห็นว่า สนามบินมีความสำคัญต่อการส่งเสริมและพัฒนาความเจริญด้านเศรษฐกิจ สังคม การท่องเที่ยว และด้านอื่นของประเทศเป็นอย่างมาก รัฐบาลจึงกำหนดให้ การก่อสร้าง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะต้องร่วมกันดำเนินการแบบบูรณาการ เพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมาย จึงได้เร่งการก่อสร้างตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2545

สนามบินได้เปิดทดลองใช้ในเช้าวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยมีสายการบินภายในประเทศ 6 สายการบินร่วมทดลอง ได้แก่ การบินไทย นกแอร์ ไทยแอร์เอเซีย บางกอกแอร์เวย์ พีบีแอร์ และ โอเรียนท์ไทย โดยมีจำนวนผู้โดยสาร 4,800 คน จาก 24 เที่ยวบิน โดยพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้เดินทางจากสนามบินดอนเมืองมายังสนามบินสุวรรณภูมิ นอกจากนี้ ได้มีกิจกรรมต่างๆ ซึ่งรวมถึงการแจกประกาศนียบัตรและบัตรโดยสารที่ระลึกแก่ผู้ร่วมเที่ยวบิน การนำผู้สนใจเยี่ยมชมบริเวณสนามบินโดยมัคคุเทศก์อาสาสมัครจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ร่วมกับการท่าอากาศยาน และรถโดยสาร ขสมก. ได้จัดเส้นทางพิเศษเพื่อเข้าชมสนามบินและสถานที่ท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียง

นอกจากนี้รัฐบาลคาดว่าจะได้รับการรับรองจากกรมการขนส่งทางอากาศ ภายใต้มาตรฐานนานาชาติที่ออกโดย องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) และ สมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) เพื่อเปิดใช้ในทางพาณิชย์อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 (เริ่มย้ายและให้บินขึ้นลงได้ตั้งแต่ 15 กันยายน) และกำหนดให้วันที่ 1 กันยายน เป็นวันแรกของการทดลองบินของสายการบินจากต่างประเทศ ในการเริ่มการบินของสายการบินภายในประเทศวันแรก ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้เกิดปัญหาไฟฟ้าดับในช่วง 1:00-6:10 น. ทำให้ประสบปัญหาในการเช็คอินของสายการบินในช่วงเวลานั้น

ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 เกิดการรัฐประหารยึดอำนาจจากรัฐบาลรักษาการของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร คณะรัฐประหารตัดสินใจยึดกำหนดการเปิดสนามบินอย่างเป็นทางการในวันที่ 28 ตามเดิม

ในโอกาสเปิดสนามบิน ไปรษณีย์ไทยได้จัดทำแสตมป์ที่ระลึกจำนวน 18 ล้านดวง เป็นภาพอาคารผู้โดยสาร พร้อมเครื่องบิน และตราสัญลักษณ์บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ชนิดราคา 3 บาท พร้อมซองวันแรกจำหน่ายราคาซองละ 10 บาท จำหน่ายวันที่ 28 กันยายน เป็นวันแรก

การก่อสร้าง

สถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร คือ เฮลมุต ยาห์นชาวอเมริกัน-เยอรมัน และบริษัทเมอร์ฟี/ยาห์นสำนักงานใหญ่ที่ชิคาโก ซึ่งแบบอาคารสนามบินได้ถูกปรับเปลี่ยน ขนาดอาคาร และวัสดุจากแบบเดิมไปในหลายส่วน เช่น เพิ่มการประดับยักษ์ และสถาปัตยกรรมไทยเพิ่มเข้าไปโดยสถาปนิกชาวไทย


ความเป็นที่สุด
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้รับการกล่าวถึงว่าเป็น "ความภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ" และยังเป็นที่กล่าวขวัญถึง "ความเป็นที่สุด" ในหลายๆ ด้าน ดังต่อไปนี้

หอบังคับการบินที่สูงที่สุดในโลก ด้วยความสูง 132.2 เมตร พร้อมระบบการนำร่องอากาศยานที่ทันสมัย
โรงซ่อมเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีขนาดพื้นที่จอดเครื่องบินรวม 27,000 เมตร สามารถรองรับเครื่องบินขนาดยักษ์แอร์บัส 380 ได้พร้อมกัน 3 ลำ โรงซ่อมเป็นอาคารสูง 35 เมตร กว้าง 90 เมตร ยาว 270 เมตร โดยไม่มีเสากีดขวาง โครงหลังคาใช้วัสดุเหล็กที่มีลักษณะเป็นซูเปอร์สตรักเจอร์ที่ใช้คานเหล็ก มีน้ำหนักรวม 10,000 ตัน ใช้เงินลงทุนก่อสร้างกว่า 1,200 ล้านบาท
ล็อบบี้ของโรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งอยู่ด้านหน้าอาคารผู้โดยสาร มีห้องพักถึง 600 กว่าห้อง เป็นบริเวณล็อบบี้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
เป็นสนามบินที่ทำสถิติใช้ระยะเวลาการก่อสร้างยาวนานที่สุด ถึง 45 ปี
มีเรื่อง “ฉาวโฉ่เรื่องการทุจริต” มากที่สุด ตั้งแต่เริ่มคิดโครงการเมื่อ พ.ศ. 2503 เรื่อยมาจนการเริ่มการก่อสร้าง
อาคารผู้โดยสาร เป็นอาคารผู้โดยสารเดี่ยว (มิใช่กลุ่มอาคาร) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ในการก่อสร้างครั้งเดียว โดยมีพื้นที่ใช้สอยถึงประมาณ 563,000 ตร.ม. ซึ่งต่อมาทางสนามบินนานาชาติฮ่องกงได้ต่อเติมอาคารผู้โดยสารที่ 1 ออกไป จนมีขนาด 570,000 ตร.ม. ใหญ่กว่าของสุวรรณภูมิ
สนามบินที่ใหญ่ที่สุด ทันสมัยที่สุดในโลก
ภายในอาคารเทียบเครื่องบิน ถือเป็นสถาปัตยกรรมที่ทันสมัยที่สุดในโลก
ระบบการบริหารจัดการท่าอากาศยานทุกกิจกรรม ที่ใช้ระบบไอทีติดอันดับโลก โดยถูกเชื่อมโยงด้วยระบบเทคโนโลยีทันสมัยที่เรียกว่า AIM (Airport Information Management System)
อัตราค่าธรรมเนียม หรือ landing fee ที่ต่ำที่สุด เทียบกับสนามบินทั้งหมดในแถบภูมิภาคเดียวกัน

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
From suvarnabhumi international airportSuvarnabhumi international airport or airport (formerly: Cobra swamp airport) is an airport located at Bangna-Trad in Racha thewa. Bangplee, samutprakarn September 28-enabled instead of using 2549 (2006) airport Don mueang. The policies the Government has assigned the suvarnabhumi airport is the main international airport is a hub for Southeast Asia Airlines.The latest rating of the Web site "smart travel walet otkhom" with Traveller's opinion surveys around the world revealed that Thailand's suvarnabhumi airport has been ranked as excellent airport ranks 4th in the world. From Hong Kong International Airport Singapore Changi Airport and Kuala Lumpur International Airport, Malaysia's.Name of the airport.The airport's name means "land of gold", is the title granted by his Majesty deign Church September 29 2543 (2000) and his Royal when he ceremony laying passenger airport on January 19 2545 (2002)The name of the airport by taking the spell spell Sanskrit "Suvarnabhumi" instead of writing banthityotthan, which is transliterated according to the system of Kingdom of Suwannaphum "spell."HistoryThe military Government of Thanom Kittikachorn. Admiral land swamps 20000 acres in swamp areas, Cobra, samutprakarn 2516 (1973) for creating a new airport.Nearly 30 years later. Pol. Lt. Col. Thaksin Shinawatra's Government has indicated that the airport is important to promoting economic prosperity and development. Social tourism and other aspects of the country. The Government requires that the construction of suvarnabhumi airport is the national agenda, the relevant authorities must jointly integrated action to accomplish goals has accelerated construction January 2545 (2002)สนามบินได้เปิดทดลองใช้ในเช้าวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดยมีสายการบินภายในประเทศ 6 สายการบินร่วมทดลอง ได้แก่ การบินไทย นกแอร์ ไทยแอร์เอเซีย บางกอกแอร์เวย์ พีบีแอร์ และ โอเรียนท์ไทย โดยมีจำนวนผู้โดยสาร 4,800 คน จาก 24 เที่ยวบิน โดยพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้เดินทางจากสนามบินดอนเมืองมายังสนามบินสุวรรณภูมิ นอกจากนี้ ได้มีกิจกรรมต่างๆ ซึ่งรวมถึงการแจกประกาศนียบัตรและบัตรโดยสารที่ระลึกแก่ผู้ร่วมเที่ยวบิน การนำผู้สนใจเยี่ยมชมบริเวณสนามบินโดยมัคคุเทศก์อาสาสมัครจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ร่วมกับการท่าอากาศยาน และรถโดยสาร ขสมก. ได้จัดเส้นทางพิเศษเพื่อเข้าชมสนามบินและสถานที่ท่องเที่ยวในบริเวณใกล้เคียงนอกจากนี้รัฐบาลคาดว่าจะได้รับการรับรองจากกรมการขนส่งทางอากาศ ภายใต้มาตรฐานนานาชาติที่ออกโดย องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) และ สมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) เพื่อเปิดใช้ในทางพาณิชย์อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 (เริ่มย้ายและให้บินขึ้นลงได้ตั้งแต่ 15 กันยายน) และกำหนดให้วันที่ 1 กันยายน เป็นวันแรกของการทดลองบินของสายการบินจากต่างประเทศ ในการเริ่มการบินของสายการบินภายในประเทศวันแรก ในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้เกิดปัญหาไฟฟ้าดับในช่วง 1:00-6:10 น. ทำให้ประสบปัญหาในการเช็คอินของสายการบินในช่วงเวลานั้นในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 เกิดการรัฐประหารยึดอำนาจจากรัฐบาลรักษาการของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร คณะรัฐประหารตัดสินใจยึดกำหนดการเปิดสนามบินอย่างเป็นทางการในวันที่ 28 ตามเดิมในโอกาสเปิดสนามบิน ไปรษณีย์ไทยได้จัดทำแสตมป์ที่ระลึกจำนวน 18 ล้านดวง เป็นภาพอาคารผู้โดยสาร พร้อมเครื่องบิน และตราสัญลักษณ์บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ชนิดราคา 3 บาท พร้อมซองวันแรกจำหน่ายราคาซองละ 10 บาท จำหน่ายวันที่ 28 กันยายน เป็นวันแรกการก่อสร้างสถาปนิกผู้ออกแบบอาคาร คือ เฮลมุต ยาห์นชาวอเมริกัน-เยอรมัน และบริษัทเมอร์ฟี/ยาห์นสำนักงานใหญ่ที่ชิคาโก ซึ่งแบบอาคารสนามบินได้ถูกปรับเปลี่ยน ขนาดอาคาร และวัสดุจากแบบเดิมไปในหลายส่วน เช่น เพิ่มการประดับยักษ์ และสถาปัตยกรรมไทยเพิ่มเข้าไปโดยสถาปนิกชาวไทยความเป็นที่สุดท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้รับการกล่าวถึงว่าเป็น "ความภูมิใจของคนไทยทั้งชาติ" และยังเป็นที่กล่าวขวัญถึง "ความเป็นที่สุด" ในหลายๆ ด้าน ดังต่อไปนี้หอบังคับการบินที่สูงที่สุดในโลก ด้วยความสูง 132.2 เมตร พร้อมระบบการนำร่องอากาศยานที่ทันสมัยโรงซ่อมเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีขนาดพื้นที่จอดเครื่องบินรวม 27,000 เมตร สามารถรองรับเครื่องบินขนาดยักษ์แอร์บัส 380 ได้พร้อมกัน 3 ลำ โรงซ่อมเป็นอาคารสูง 35 เมตร กว้าง 90 เมตร ยาว 270 เมตร โดยไม่มีเสากีดขวาง โครงหลังคาใช้วัสดุเหล็กที่มีลักษณะเป็นซูเปอร์สตรักเจอร์ที่ใช้คานเหล็ก มีน้ำหนักรวม 10,000 ตัน ใช้เงินลงทุนก่อสร้างกว่า 1,200 ล้านบาทล็อบบี้ของโรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งอยู่ด้านหน้าอาคารผู้โดยสาร มีห้องพักถึง 600 กว่าห้อง เป็นบริเวณล็อบบี้ที่ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นสนามบินที่ทำสถิติใช้ระยะเวลาการก่อสร้างยาวนานที่สุด ถึง 45 ปีมีเรื่อง “ฉาวโฉ่เรื่องการทุจริต” มากที่สุด ตั้งแต่เริ่มคิดโครงการเมื่อ พ.ศ. 2503 เรื่อยมาจนการเริ่มการก่อสร้างอาคารผู้โดยสาร เป็นอาคารผู้โดยสารเดี่ยว (มิใช่กลุ่มอาคาร) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ในการก่อสร้างครั้งเดียว โดยมีพื้นที่ใช้สอยถึงประมาณ 563,000 ตร.ม. ซึ่งต่อมาทางสนามบินนานาชาติฮ่องกงได้ต่อเติมอาคารผู้โดยสารที่ 1 ออกไป จนมีขนาด 570,000 ตร.ม. ใหญ่กว่าของสุวรรณภูมิสนามบินที่ใหญ่ที่สุด ทันสมัยที่สุดในโลกภายในอาคารเทียบเครื่องบิน ถือเป็นสถาปัตยกรรมที่ทันสมัยที่สุดในโลกระบบการบริหารจัดการท่าอากาศยานทุกกิจกรรม ที่ใช้ระบบไอทีติดอันดับโลก โดยถูกเชื่อมโยงด้วยระบบเทคโนโลยีทันสมัยที่เรียกว่า AIM (Airport Information Management System) อัตราค่าธรรมเนียม หรือ landing fee ที่ต่ำที่สุด เทียบกับสนามบินทั้งหมดในแถบภูมิภาคเดียวกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Suvarnabhumi International Airport

Suvarnabhumi International Airport. Airport (the name of: feltThe airport is the airport located at Nong Cobra). The bangna-trad road in invisible waves. The bangplee, Samut Prakan province. Activate the 28 September. BCBy using 2549 instead. Government policy has defined the Suvarnabhumi airport is the main airport of the country. The center will fly in the South-East Asia region

.The latest ranking of website "contactless travel dot-com". An opinion survey of people around the world said. Suvarnabhumi Airport in has been rated as the best airport ranked 4.The Hong Kong International Airport, the Singapore Changi Airport. And the Kuala Lumpur International Airport of Malaysia
.


the name of name airport airport, means "golden land" is the ชื่อพระราชทาน by ระบาท King Royal On 29 September 2009.And he 2543 near the foundation stone laying ceremony of Suvarnabhumi Airport's passenger terminal building on 19 January 2545

.The name of the airport international spelling according to Sanskrit. "Suvarnabhumi taken spelling". Instead of writing a transliteration system according to the Royal Academy, which spelled "Suwannaphum"



the military history of จอมพลถนอม muangsakul. Have bought land in the swamp, 20000 Rai, the cobra swamp, Samut Prakan Province in 2002. 2516 for creating new airport

time almost 30 years later, government of Lt.Thaksin Shinawatra, see the airport is important in promoting development and prosperity in economy, society, tourism and other areas of the country greatly. The government has designated the airport construction.In which all the relevant agencies. Will be summarized integrated. To achieve their goals. Therefore, accelerate construction since January B.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: