การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Research and การแปล - การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Research and อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่ของ

การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Research and Development of Field Corn Variety of Kasetsart University
................................................................................................................................................
โชคชัย เอกทัศนาวรรณ1 สรรเสริญ จำปาทอง1 ชไมพร เอกทัศนาวรรณ2 ฉัตรพงศ์ บาลลา1
นพพงศ์ จุลจอหอ1 ทศพล ทองลาภ1 ชำนาญ ฉัตรแก้ว3 สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์3 และ สุจินต์ จินายน3
1 ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาด้านพืชศาสตร์
2 โครงการจัดตั้งวิทยาเขตลพบุรี และ 3 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ทำการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่มาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 45 ปี โดยแบ่งเป็นงานวิจัยพื้นฐาน 20% เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านการสอนระดับอุดมศึกษาและการทำวิจัยของนิสิตระดับปริญญาโทและเอก และเป็นงานวิจัยประยุกต์ 80% เพื่อตอบสนองความต้องการ และแก้ไขปัญหาของประเทศ โดยพัฒนาข้าวโพดพันธุ์ผสมเปิดและพันธุ์ลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูงและต้านทานโรคราน้ำค้างให้เกษตรกรใช้ปลูก ตลอดจนได้พัฒนาสายพันธุ์แท้ให้ภาครัฐและภาคเอกชนนำไปใช้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์ลูกผสม การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร วิทยาลัยเกษตรกรรม และบริษัทเมล็ดพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนองค์กรวิจัยนานาชาติ ได้แก่ มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ และศูนย์ปรับปรุงข้าวโพดและข้าวสาลีนานาชาติ (CIMMYT)

ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดที่ดีเด่น
ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดมีบทบาทสำคัญในการเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศไทยในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา เนื่องจากพันธุ์ผสมเปิดได้รับการปรับปรุงนี้ผลผลิตสูง ต้านทานโรคราน้ำค้าง ปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมทั่วไป เมล็ดพันธุ์มีราคาถูก และเกษตรกรสามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองได้ 1-3 ชั่ว ในช่วงดังกล่าว พันธุ์ผสมเปิดที่ได้จากการปรับปรุงพันธุ์โดยเฉพาะรอบคัดเลือกใหม่ ๆ ได้รับการผลิตเมล็ดพันธุ์โดยหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน ทำให้เกษตรกรมีโอกาสได้ใช้เมล็ดพันธุ์ดีมากขึ้น นอกจากนี้ พันธุ์ลูกผสมที่จำหน่ายเป็นการค้าในช่วงนั้น ส่วนใหญ่ยังให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ผสมเปิดไม่เด่นชัด ประกอบกับเกษตรกรยังมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตไม่มากนัก และเมล็ดพันธุ์ลูกผสมในช่วงนั้นยังมีราคาแพงกว่าเมล็ดพันธุ์ผสมเปิด 2-3 เท่า ทำให้เกษตรกรนิยมใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดมากกว่าพันธุ์ลูกผสม
โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทำการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดอย่างเข้มข้นต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 35 ปี และได้แนะนำพันธุ์ผสมเปิดที่ดีสู่เกษตรกร ได้แก่ พันธุ์สุวรรณ 1 (พ.ศ. 2518), พันธุ์สุวรรณ 2 (พ.ศ. 2522), พันธุ์สุวรรณ 3 (พ.ศ. 2530) และพันธุ์สุวรรณ 5 (พ.ศ. 2536) พันธุ์ผสมเปิด และพันธุ์ลูกผสมต่าง ๆ จากภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งการปรับปรุงการเขตกรรม เป็นปัจจัยสำคัญทำให้ผลการปลูกข้าวโพดในปีเพาะปลูก 2518/19-2534/35 มีผลผลิตเฉลี่ย 372 กก./ไร่ ผลผลิตรวมเฉลี่ย 3.45 ล้านตัน และมีมูลค่าส่งออกเฉลี่ย 6,059 ล้านบาท สูงกว่าปีเพาะปลูก 2501/02-2517/18 ซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ย 313 กก./ไร่ ผลผลิตรวมเฉลี่ย 1.23 ล้านตัน และมีมูลค่าส่งออกเฉลี่ย 1,540 ล้านบาท ถึง 19%, 181% และ 293% ตามลำดับ ถึงแม้ว่า ข้าวโพดพันธุ์ลูกผสมจะมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในระยะ 10 ปีต่อมา แต่ยังมีอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ผสมเปิด ประมาณ 10% ของปริมาณเมล็ดพันธุ์ทั้งหมด

พันธุ์สุวรรณ 1 เป็นพันธุ์ผสมเปิดที่มีบทบาทสำคัญมากที่สุด ในการพัฒนาการผลิตข้าวโพดของประเทศไทย โดยเฉพาะในยุคที่มีโรคราน้ำค้างระบาด นอกจากนี้ ยังมีมากกว่า 20 ประเทศ รวมทั้ง CIMMYT ได้นำพันธุ์สุวรรณ 1 ไปใช้ส่งเสริมเป็นพันธุ์ปลูกโดยตรง และใช้เป็นเชื้อพันธุกรรมที่ดีในการปรับปรุงพันธุ์ เพราะเป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพสูงในการให้ผลผลิต ปรับตัวได้กว้าง ต้านทานโรคราน้ำค้าง และโรคทางใบอื่น ๆ โดยเฉพาะการใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมที่ดีในการสกัดสายพันธุ์แท้ที่มีเมล็ดสีส้มเหลืองหัวแข็ง เมื่อนำไปผสมกับสายพันธุ์แท้ที่มีเมล็ดสีเหลืองหัวบุบหรือกึ่งหัวบุบของข้าวโพดเขตอบอุ่น หรือกึ่งเขตร้อน จะได้ลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง และต้านทานต่อโรค
การสร้างและปรับปรุงพันธุ์สุวรรณ 1 เริ่มในปี พ.ศ. 2512-2513 โดยคัดเลือกข้าวโพดจำนวน 36 พันธุ์ ซึ่งส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดมาจากหมู่เกาะแคริบเบียน 16 พันธุ์ ประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง 6 พันธุ์ อเมริกาใต้ 5 พันธุ์ อินเดีย 5 พันธุ์ และจากแหล่งอื่น ๆ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา 4 พันธุ์ แล้วผสมรวมเป็นพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 (Thai Composite #1) จากนั้นได้ใช้วิธีการปรับปรุงพันธุ์แบบ S1 recurrent selection ต่อมาได้เกิดโรคราน้ำค้างระบาด และทำความเสียหายให้แก่ข้าวโพดอย่างรุนแรงระหว่างปี พ.ศ. 2514-2516 โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดจึงเริ่มต้นปรับปรุงพันธุ์ต้านทานอย่างจริงจัง โดยใช้พันธุ์ต้านทานโรคราน้ำค้าง ฟิลิปปินส์ดีเอ็มอาร์ 1 และ ฟิลิปปินส์ ดีเอ็มอาร์ 5 ผสมกับพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 รอบคัดเลือกที่ 1 และผสมกลับ ไปยังพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 รอบคัดเลือกที่ 2 และ 3 จำนวน 2 และ 1 ครั้งตามลำดับ ได้พันธุ์ไทยคอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์ผสมกลับครั้งที่ 3 (Thai Composite #1 DMR BC3) หรือ พันธุ์สุวรรณ 1 รอบคัดเลือกที่ 0 ซึ่งต้านทานต่อโรคราน้ำค้างในระดับดีพอสมควร เนื่องจากการผสมกลับครั้งที่ 2 และ 3 ได้คัดเลือกต้นที่ต้านทานโรคราน้ำค้างในแปลงระบาดเทียม
ภายหลังการปรับปรุงพันธุ์รอบคัดเลือกที่ 2 ในปี พ.ศ. 2517 พันธุ์ Thai Composite #1 DMR BC3(S)C2 ได้รับการรับรองพันธุ์จากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในปี พ.ศ. 2517 และเปลี่ยนชื่อเป็น "พันธุ์สุวรรณ 1" และปัจจุบันได้รับการคัดเลือกต่อถึงรอบคัดเลือกที่ 12 พันธุ์







ข้าวโพดพันธุ์สุวรรณ 1 ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง จากการทดสอบผลผลิต และการทดลองปลูกในหลายประเทศในทวีปเอเชีย แอฟริกา อเมริกากลาง และ อเมริกาใต้ ปรากฏว่า พันธุ์สุวรรณ 1 ให้ผลผลิตสูงในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ มีการปรับตัวที่ดี และมีลักษณะเด่น คือ ต้านทานต่อโรคราน้ำค้าง ทำให้สุวรรณ 1 เป็นพันธุ์ดีระดับแนวหน้า ดังที่ Dr. Takumi Izuno ผู้เชี่ยวชาญโครงการข้าวโพดภูมิภาคเอเชียของ CIMMYT ได้ยกย่องความดีขอ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Research and development of corn acres of Kasetsart University. Research and Development of Field Corn Variety of Kasetsart University................................................................................................................................................Chokechai aekatasanawan 1 Golden Champa praise 1 Chamai porn EK to watch Wan 2 Chat House Municipalities of la 1 Plus he loves miniature screen 1 1 Auditorium lucky gold thotphon chat 3 glass expertise. Sutus SI Sukhumvit 3 House cultural and chin Mr. JI N 31 corn and sorghum Research Center, National Institute for the research of static chanthon Eagle and developed the Crop Sciences.Lopburi campus establishment project 2 and 3 Department of farm crops. Faculty of agriculture, Kasetsart University. Corn breeding project of Kasetsart University has been researching and developing varieties of corn acres coming continuously for a period of 45 years, divided into basic research, 20% to take advantage in the field of teaching, higher education levels and research of undergraduate master's degree and Ph.d., and re.Application research on nangan 80% in order to meet the needs and solve the problem of the country. The development of mixed species of corn hybrids and cultivars that give a high yield and disease resistance, water use, as well as planting farmers hold, have developed a genuine species, the Government and the private sector so that it can be used in the production of seeds and breeding hybrids. Research and development of cooperation received from various agencies in both countries: Kasetsart University. Department of Agriculture Department of Agriculture College, the agricultural promotion and various research organizations, as well as seed company international: the Foundation rock and fleloe cookies, corn and wheat improvement (CIMMYT), the international.Corn mixed species plantation open outstanding Corn mixed species plantation open play an important role in increasing the average yield per Rai of the Thai nation in the last two decades due to the mixed varieties turn this improved productivity high. Open water, disease resistance. Adapt well in the General environment. The seeds are cheap, and farmers can collect the seeds used are 1-3 in evil. Open mixed species from breeding, especially around the new selection has been producing seed by Government and the private sector. Farmers have the opportunity to have a very good seed. In addition Varieties of hybrids that are in range. Most also provide higher yield varieties mixed open not obvious. There are also farmers with knowledge of technology to produce more seed, and hybrids are more expensive than rates during the mixed seed opening 2-3 as farmers used corn seed mixed species plantation open rather than hybrid varieties. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทำการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดอย่างเข้มข้นต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 35 ปี และได้แนะนำพันธุ์ผสมเปิดที่ดีสู่เกษตรกร ได้แก่ พันธุ์สุวรรณ 1 (พ.ศ. 2518), พันธุ์สุวรรณ 2 (พ.ศ. 2522), พันธุ์สุวรรณ 3 (พ.ศ. 2530) และพันธุ์สุวรรณ 5 (พ.ศ. 2536) พันธุ์ผสมเปิด และพันธุ์ลูกผสมต่าง ๆ จากภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งการปรับปรุงการเขตกรรม เป็นปัจจัยสำคัญทำให้ผลการปลูกข้าวโพดในปีเพาะปลูก 2518/19-2534/35 มีผลผลิตเฉลี่ย 372 กก./ไร่ ผลผลิตรวมเฉลี่ย 3.45 ล้านตัน และมีมูลค่าส่งออกเฉลี่ย 6,059 ล้านบาท สูงกว่าปีเพาะปลูก 2501/02-2517/18 ซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ย 313 กก./ไร่ ผลผลิตรวมเฉลี่ย 1.23 ล้านตัน และมีมูลค่าส่งออกเฉลี่ย 1,540 ล้านบาท ถึง 19%, 181% และ 293% ตามลำดับ ถึงแม้ว่า ข้าวโพดพันธุ์ลูกผสมจะมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในระยะ 10 ปีต่อมา แต่ยังมีอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ผสมเปิด ประมาณ 10% ของปริมาณเมล็ดพันธุ์ทั้งหมด พันธุ์สุวรรณ 1 เป็นพันธุ์ผสมเปิดที่มีบทบาทสำคัญมากที่สุด ในการพัฒนาการผลิตข้าวโพดของประเทศไทย โดยเฉพาะในยุคที่มีโรคราน้ำค้างระบาด นอกจากนี้ ยังมีมากกว่า 20 ประเทศ รวมทั้ง CIMMYT ได้นำพันธุ์สุวรรณ 1 ไปใช้ส่งเสริมเป็นพันธุ์ปลูกโดยตรง และใช้เป็นเชื้อพันธุกรรมที่ดีในการปรับปรุงพันธุ์ เพราะเป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพสูงในการให้ผลผลิต ปรับตัวได้กว้าง ต้านทานโรคราน้ำค้าง และโรคทางใบอื่น ๆ โดยเฉพาะการใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมที่ดีในการสกัดสายพันธุ์แท้ที่มีเมล็ดสีส้มเหลืองหัวแข็ง เมื่อนำไปผสมกับสายพันธุ์แท้ที่มีเมล็ดสีเหลืองหัวบุบหรือกึ่งหัวบุบของข้าวโพดเขตอบอุ่น หรือกึ่งเขตร้อน จะได้ลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง และต้านทานต่อโรค การสร้างและปรับปรุงพันธุ์สุวรรณ 1 เริ่มในปี พ.ศ. 2512-2513 โดยคัดเลือกข้าวโพดจำนวน 36 พันธุ์ ซึ่งส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดมาจากหมู่เกาะแคริบเบียน 16 พันธุ์ ประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง 6 พันธุ์ อเมริกาใต้ 5 พันธุ์ อินเดีย 5 พันธุ์ และจากแหล่งอื่น ๆ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา 4 พันธุ์ แล้วผสมรวมเป็นพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 (Thai Composite #1) จากนั้นได้ใช้วิธีการปรับปรุงพันธุ์แบบ S1 recurrent selection ต่อมาได้เกิดโรคราน้ำค้างระบาด และทำความเสียหายให้แก่ข้าวโพดอย่างรุนแรงระหว่างปี พ.ศ. 2514-2516 โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดจึงเริ่มต้นปรับปรุงพันธุ์ต้านทานอย่างจริงจัง โดยใช้พันธุ์ต้านทานโรคราน้ำค้าง ฟิลิปปินส์ดีเอ็มอาร์ 1 และ ฟิลิปปินส์ ดีเอ็มอาร์ 5 ผสมกับพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 รอบคัดเลือกที่ 1 และผสมกลับ ไปยังพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 รอบคัดเลือกที่ 2 และ 3 จำนวน 2 และ 1 ครั้งตามลำดับ ได้พันธุ์ไทยคอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์ผสมกลับครั้งที่ 3 (Thai Composite #1 DMR BC3) หรือ พันธุ์สุวรรณ 1 รอบคัดเลือกที่ 0 ซึ่งต้านทานต่อโรคราน้ำค้างในระดับดีพอสมควร เนื่องจากการผสมกลับครั้งที่ 2 และ 3 ได้คัดเลือกต้นที่ต้านทานโรคราน้ำค้างในแปลงระบาดเทียม After the qualifying round breeding at Thai varieties 2 Composite 1 in # 2517 (1974) BC3 DMR (S) C2 certified varieties from the Ministry of agriculture and cooperatives in 2517 (1974) and renamed as "breeder Suwan 1" and is currently elected to the qualifying round 12 species. Corn varieties, Suwan 1 adapt the environment widely. From the test results and the experimental planting in many countries in Asia. Africa, Central America and South America, it appears that the species of Suwan. 1, high yield in different environments has been adapted and feature is the open water, disease resistance make it a good breeder 1 Suwan foremost specialist Takumi as Dr. Izuno corn project of Asia, CIMMYT has praised the good get.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Research and Development of Field Corn Variety of Kasetsart University
................................................................................................................................................
โชคชัย เอกทัศนาวรรณ1 สรรเสริญ จำปาทอง1 ชไมพร เอกทัศนาวรรณ2 ฉัตรพงศ์ บาลลา1
นพพงศ์ จุลจอหอ1 ทศพล ทองลาภ1 ชำนาญ ฉัตรแก้ว3 สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์3 และ สุจินต์ จินายน3
1 ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาด้านพืชศาสตร์
2 โครงการจัดตั้งวิทยาเขตลพบุรี และ 3 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ทำการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่มาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 45 ปี โดยแบ่งเป็นงานวิจัยพื้นฐาน 20% เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านการสอนระดับอุดมศึกษาและการทำวิจัยของนิสิตระดับปริญญาโทและเอก และเป็นงานวิจัยประยุกต์ 80% เพื่อตอบสนองความต้องการ และแก้ไขปัญหาของประเทศ โดยพัฒนาข้าวโพดพันธุ์ผสมเปิดและพันธุ์ลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูงและต้านทานโรคราน้ำค้างให้เกษตรกรใช้ปลูก ตลอดจนได้พัฒนาสายพันธุ์แท้ให้ภาครัฐและภาคเอกชนนำไปใช้ในการผลิตเมล็ดพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์ลูกผสม การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร วิทยาลัยเกษตรกรรม และบริษัทเมล็ดพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนองค์กรวิจัยนานาชาติ ได้แก่ มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ และศูนย์ปรับปรุงข้าวโพดและข้าวสาลีนานาชาติ (CIMMYT)

ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดที่ดีเด่น
ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดมีบทบาทสำคัญในการเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของประเทศไทยในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา เนื่องจากพันธุ์ผสมเปิดได้รับการปรับปรุงนี้ผลผลิตสูง ต้านทานโรคราน้ำค้าง ปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมทั่วไป เมล็ดพันธุ์มีราคาถูก และเกษตรกรสามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองได้ 1-3 ชั่ว ในช่วงดังกล่าว พันธุ์ผสมเปิดที่ได้จากการปรับปรุงพันธุ์โดยเฉพาะรอบคัดเลือกใหม่ ๆ ได้รับการผลิตเมล็ดพันธุ์โดยหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน ทำให้เกษตรกรมีโอกาสได้ใช้เมล็ดพันธุ์ดีมากขึ้น นอกจากนี้ พันธุ์ลูกผสมที่จำหน่ายเป็นการค้าในช่วงนั้น ส่วนใหญ่ยังให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ผสมเปิดไม่เด่นชัด ประกอบกับเกษตรกรยังมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการผลิตไม่มากนัก และเมล็ดพันธุ์ลูกผสมในช่วงนั้นยังมีราคาแพงกว่าเมล็ดพันธุ์ผสมเปิด 2-3 เท่า ทำให้เกษตรกรนิยมใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดมากกว่าพันธุ์ลูกผสม
โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทำการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดไร่พันธุ์ผสมเปิดอย่างเข้มข้นต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 35 ปี และได้แนะนำพันธุ์ผสมเปิดที่ดีสู่เกษตรกร ได้แก่ พันธุ์สุวรรณ 1 (พ.ศ. 2518), พันธุ์สุวรรณ 2 (พ.ศ. 2522), พันธุ์สุวรรณ 3 (พ.ศ. 2530) และพันธุ์สุวรรณ 5 (พ.ศ. 2536) พันธุ์ผสมเปิด และพันธุ์ลูกผสมต่าง ๆ จากภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งการปรับปรุงการเขตกรรม เป็นปัจจัยสำคัญทำให้ผลการปลูกข้าวโพดในปีเพาะปลูก 2518/19-2534/35 มีผลผลิตเฉลี่ย 372 กก./ไร่ ผลผลิตรวมเฉลี่ย 3.45 ล้านตัน และมีมูลค่าส่งออกเฉลี่ย 6,059 ล้านบาท สูงกว่าปีเพาะปลูก 2501/02-2517/18 ซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ย 313 กก./ไร่ ผลผลิตรวมเฉลี่ย 1.23 ล้านตัน และมีมูลค่าส่งออกเฉลี่ย 1,540 ล้านบาท ถึง 19%, 181% และ 293% ตามลำดับ ถึงแม้ว่า ข้าวโพดพันธุ์ลูกผสมจะมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในระยะ 10 ปีต่อมา แต่ยังมีอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ผสมเปิด ประมาณ 10% ของปริมาณเมล็ดพันธุ์ทั้งหมด

พันธุ์สุวรรณ 1 เป็นพันธุ์ผสมเปิดที่มีบทบาทสำคัญมากที่สุด ในการพัฒนาการผลิตข้าวโพดของประเทศไทย โดยเฉพาะในยุคที่มีโรคราน้ำค้างระบาด นอกจากนี้ ยังมีมากกว่า 20 ประเทศ รวมทั้ง CIMMYT ได้นำพันธุ์สุวรรณ 1 ไปใช้ส่งเสริมเป็นพันธุ์ปลูกโดยตรง และใช้เป็นเชื้อพันธุกรรมที่ดีในการปรับปรุงพันธุ์ เพราะเป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพสูงในการให้ผลผลิต ปรับตัวได้กว้าง ต้านทานโรคราน้ำค้าง และโรคทางใบอื่น ๆ โดยเฉพาะการใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมที่ดีในการสกัดสายพันธุ์แท้ที่มีเมล็ดสีส้มเหลืองหัวแข็ง เมื่อนำไปผสมกับสายพันธุ์แท้ที่มีเมล็ดสีเหลืองหัวบุบหรือกึ่งหัวบุบของข้าวโพดเขตอบอุ่น หรือกึ่งเขตร้อน จะได้ลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง และต้านทานต่อโรค
การสร้างและปรับปรุงพันธุ์สุวรรณ 1 เริ่มในปี พ.ศ. 2512-2513 โดยคัดเลือกข้าวโพดจำนวน 36 พันธุ์ ซึ่งส่วนใหญ่มีถิ่นกำเนิดมาจากหมู่เกาะแคริบเบียน 16 พันธุ์ ประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง 6 พันธุ์ อเมริกาใต้ 5 พันธุ์ อินเดีย 5 พันธุ์ และจากแหล่งอื่น ๆ รวมทั้งสหรัฐอเมริกา 4 พันธุ์ แล้วผสมรวมเป็นพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 (Thai Composite #1) จากนั้นได้ใช้วิธีการปรับปรุงพันธุ์แบบ S1 recurrent selection ต่อมาได้เกิดโรคราน้ำค้างระบาด และทำความเสียหายให้แก่ข้าวโพดอย่างรุนแรงระหว่างปี พ.ศ. 2514-2516 โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดจึงเริ่มต้นปรับปรุงพันธุ์ต้านทานอย่างจริงจัง โดยใช้พันธุ์ต้านทานโรคราน้ำค้าง ฟิลิปปินส์ดีเอ็มอาร์ 1 และ ฟิลิปปินส์ ดีเอ็มอาร์ 5 ผสมกับพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 รอบคัดเลือกที่ 1 และผสมกลับ ไปยังพันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 รอบคัดเลือกที่ 2 และ 3 จำนวน 2 และ 1 ครั้งตามลำดับ ได้พันธุ์ไทยคอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์ผสมกลับครั้งที่ 3 (Thai Composite #1 DMR BC3) หรือ พันธุ์สุวรรณ 1 รอบคัดเลือกที่ 0 ซึ่งต้านทานต่อโรคราน้ำค้างในระดับดีพอสมควร เนื่องจากการผสมกลับครั้งที่ 2 และ 3 ได้คัดเลือกต้นที่ต้านทานโรคราน้ำค้างในแปลงระบาดเทียม
ภายหลังการปรับปรุงพันธุ์รอบคัดเลือกที่ 2 ในปี พ.ศ. 2517 พันธุ์ Thai Composite #1 DMR BC3(S)C2 ได้รับการรับรองพันธุ์จากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในปี พ.ศ. 2517 และเปลี่ยนชื่อเป็น "พันธุ์สุวรรณ 1" และปัจจุบันได้รับการคัดเลือกต่อถึงรอบคัดเลือกที่ 12 พันธุ์







ข้าวโพดพันธุ์สุวรรณ 1 ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง จากการทดสอบผลผลิต และการทดลองปลูกในหลายประเทศในทวีปเอเชีย แอฟริกา อเมริกากลาง และ อเมริกาใต้ ปรากฏว่า พันธุ์สุวรรณ 1 ให้ผลผลิตสูงในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ มีการปรับตัวที่ดี และมีลักษณะเด่น คือ ต้านทานต่อโรคราน้ำค้าง ทำให้สุวรรณ 1 เป็นพันธุ์ดีระดับแนวหน้า ดังที่ Dr. Takumi Izuno ผู้เชี่ยวชาญโครงการข้าวโพดภูมิภาคเอเชียของ CIMMYT ได้ยกย่องความดีขอ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Research and development of corn acres of University
Research and Development of Field Corn Variety of Kasetsart. University
... To... The... To... To... To... To... To... To... The... To... To... To... To... To... To... The... The... The... The... To... To... The...
.Chok chai (see literature 1 praise Champa gold 1 of devil 13 17:05 (see literature 2 tiered Hospital La 1
D D D: จอหอ 1 Buddha gold lucky 1 expert. 3 tiered glass. Suthas Suya 3 and), จินายน 3
.1 national corn and sorghum Research Center Institute of organic chandrasatit to research and development in Plant Science
2. The Lop Buri campus and 3 Department of Agronomy, Faculty of agriculture, University

.Corn breeding program of the University, the research and development of corn farm to continuously for 45 years. The basic research 20%.Research and application 80% to meet the requirement, and solve the problems of the country. The development of hybrid corn open and hybrid high yield and diseases resistance to downy mildew to farmers plantingResearch and development of the cooperation from various agencies in both countries, including University of agriculture, Department of agriculture, Department of agricultural extension. Agriculture and seed companies.Including the carver. International Maize and Wheat Improvement Center (CIMMYT)
.
maize hybrid open good dominant
.Maize hybrid open play an important role in increasing the yield of the สองทศวรรษ past. Because hybrid open this enhanced high yield, resistance to downy mildew disease.The seed is cheaper. And farmers can keep the seeds for themselves 1-3 evil during them. Open pollinated varieties derived from breeding, especially qualify.Make the farmers the opportunity to use the seed better. Besides, hybrids sold a trade in that period. Most also yield higher hybrid open not obvious.Hybrid seed and during that period also more expensive open pollinated seeds 2-3 imaginable. Make the farmers used corn seed farm hybrid open more than hybrids
.Corn breeding program of the University. The research and development of corn hybrid open farm intensive continuously for 35 years. And have introduced hybrid open good to farmer include varieties.(B.Professor 2518), reduction 2 (the 2522), reduction 3 (the 2530) and reduction 5 (1999)2536) hybrid open and hybrid varieties, many of the public and private sectors, including improving the เขตกร culture. Is an important factor that effects of corn crop year 2518 / 19-2534 / 35 produced an average 372 kg / ha, yield of average 3.45 million tons and export value, average 6 059% higher crop year 2501 / 02-2517 / 18 which yield, average 313 kg / ha, yield of average 1.23 million tons. And export value, average 1 540 million, to 19%And 181% 293% respectively. Although corn hybrid variety plays an important role more and more in the 10 years later. But also the utilization rate of open pollinated seeds about 10% quantity of seed all

.A hybrid open reduction 1 whose role is most important. On the development of maize production in Especially in the era with downy mildew disease outbreaks are also more 20 countries, including CIMMYT has นำพันธุ์ Suwan 1.And use it as a good germplasm in breeding. Because the varieties with high stability of productivity, adjust wide resistance, mildew and leaf diseases.When mixed with inbred lines with yellow seed robber or semi robber of maize temperate or subtropical to hybrid high yield. And the disease resistance
.To build and improve reduction 1 began in BC.The number of 36 2512-2513 corn varieties. Most of which originated from the Caribbean islands 16 varieties. New Mexico and Central America, South America 6 varieties 5 varieties, Indian 5 breed and from other sources, including the United States, 4Then mix is a Thai composite number 1 (Thai Composite # 1), then use a S1 recurrent selection breeding method. Later born downy mildew disease outbreaks. Damage to corn and severely during the yearProf.2514-2516 corn breeding program started breeding resistance seriously. By using resistant varieties to downy mildew, Philippine DM R 1 and Philippines DM R 5 mixed with composite number, 1 Thai1 and mixed back to Thai composite number 1 qualifier and were 2 3 2 1 times respectively, and Thai composite 1 DM r backcross times 3 (Thai. Composite # 1 DMR BC3) or reduction 1 qualifying 0.Due to mix back times 2 3 selection and plant resistance to downy mildew disease outbreaks in the transform artificial
.After breeding, qualifying 2 the 2517 varieties Thai Composite # 1 DMR BC3 (S) C2 certified seed from the Ministry of agriculture and Cooperative in 2009.2517 and changed its name to "reduction" and the current 1 was selected to the qualifying 12 thousand varieties







.Engineering psychology 1 adapt to various environments have extensive testing of the production, and transplantation experiments in many countries in Asia. Africa, Central America, and South America. It appears that the reduction 1.Any good adaptation and feature is the resistance to downy mildew disease caused Suwan 1 เป็นพันธุ์ well top, as Dr.Takumi Izuno project specialist corn Asia of CIMMYT have praised the good.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: