รูปแบบ ส่วนหัวเรื่องส่วนอ้างอิง : เป็นการบอกว่าหนังสือมาจากส่วนราชการใ การแปล - รูปแบบ ส่วนหัวเรื่องส่วนอ้างอิง : เป็นการบอกว่าหนังสือมาจากส่วนราชการใ อังกฤษ วิธีการพูด

รูปแบบ ส่วนหัวเรื่องส่วนอ้างอิง : เ

รูปแบบ
ส่วนหัวเรื่อง
ส่วนอ้างอิง : เป็นการบอกว่าหนังสือมาจากส่วนราชการใด
ชื่อเรื่อง : เป็นการบอกเนื้อเรื่องโดยสรุป
คำขึ้นต้น : เป็นการบอกว่าหนังสือฉบับนี้ทำถึงใคร
ส่วนเนื้อเรื่อง
ความนำ : เป็นข้อมูลเบื้องต้น
เนื้อความ : เป็นสาระสำคัญของเรื่องที่ต้องการสื่อให้ผู้อ่านทราบว่าผู้เขียนมีวัตถุประสงค์ อย่างไร
-คำชี้แจง
-ข้อเท็จจริง
-ข้อพิจารณา
-ข้อยุติ
จุดประสงค์ : เป็นการสรุปตอนท้ายว่าหนังสือฉบับนี้ต้องการให้มีการอนุมัติ หรือรับทราบ หรือดำเนินการ
ส่วนท้าย
คำลงท้าย : เป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ
การลงชื่อ : ต้องรู้ตำแหน่ง ยศ ฐานันดรศักดิ์
ภาษา
คือ การนำถ้อยคำมาเรียบเรียงเป็นประโยคที่มีรูปประโยคเป็นภาษาไทยและถูกต้องตามแบบแผน ของภาษา กรณีใดควรใช้ภาษาแบบแผน ภาษากึ่งแบบแผน หรือภาษาปาก
ถูกต้อง ถูกทั้งความหมาย ราชาศัพท์ ตลอดจนความหลากหลายของคำ เลือกให้เหมาะกับกาลเทศะ
ชัดเจน
กระจ่างในวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาที่กระชับ ชัดเจน ใช้คำที่สั้น ตรงจุดมุ่งหมาย ใช้คำหรือวลี ช่วยกระชับความ
รัดกุมไม่คลุมเครือ ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย ไม่สร้างความกำกวม ใช้คำที่มีความหมายกว้างแทน การแจกแจง
สละสลวยการวางส่วนขยายให้อยู่ติดกับคำที่จะขยาย ใช้คำที่เป็นภาษาระดับเดียวกัน ลำดับความ ก่อนหลังให้ถูกต้อง จัดข้อความที่ต้องการเน้นให้อยู่ในตำแหน่งที่มีน้ำหนัก ใช้คำซ้ำหรือคำคล้องจองช่วย สร้างความสละสลวย ใช้คำโน้มน้าวชักนำ ฯลฯ
มีภาพพจน์ ใช้ข้อความที่ขัดแย้งกัน สัมพันธ์กัน เกินจริง หรือเหน็บแนม มาเปรียบเทียบให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพ ใช้ประโยคสั้น มีการลำดับเนื้อความก่อนหลัง

บรรลุจุดประสงค์และเป็นผลดี เขียนให้ผู้รับหนังสือเข้าใจว่า ผู้มีหนังสือไปต้องการอะไร จะให้ผู้รับหนังสือปฏิบัติอย่างไร และ โน้มน้าวจูงใจให้ผู้รับหนังสือปฏิบัติตาม โดยเป็นผลดีไม่มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์อันดี หรือไม่ ก่อให้เกิดปฏิกิริยาตอบโต้รุนแรง



เนื้อหา
แบบต่อเนื่อง : เขียนเป็นย่อหน้า หน้าละใจความ
แบบลำดับตัวเลข : ลำดับขั้น ตอนการดำเนินงาน/การปฏิบัติงาน
แบบลำดับกระบวนการ : เรียงลำดับเป็นหัวข้อตามเนื้อเรื่อง

อย่างไรก็ตาม การเขียนเอกสารแต่ละประเภท จะมีรูปแบบและวิธีการในการนำเสนอแตกต่างกัน ออกไป ซึ่งผู้เขียนจำเป็นต้องมีทักษะในการเลือกใช้ และทักษะเกิดได้จากการอ่านมาก ฟังมาก และเขียน มาก ซึ่งจะต้องฝึกฝนอยู่เสมอ จึงจะเขียนให้สื่อสารกันอย่างประสบผลสำเร็จได้
หลักการพัฒนาทักษะการเขียน
๑. ทักษะการเขียนเกิดจากการฝึกฝนและจะต้องทำอย่างมีระบบ คือ
๑.๑ ต้องฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอ
๑.๒ ต้องใช้เวลาฝึกนานพอควรจึงจะเกิดความชำนาญ
๑.๓ ต้องฝึกให้ถูกวิธีและถูกหลักเกณฑ์
๑.๓.๑ ต้องสะกดคำให้ถูก เรียบเรียงถ้อยคำคำให้สื่อความหมาย ได้ชัดเจนและรู้จักการแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง
๑.๓.๒ ต้องรู้จักเทคนิคเฉพาะในการเขียนเรื่องประเภทต่างๆ เช่น การเขียนเรียงความ บทความ ทั้งในแง่วัตถุ
ประสงค์และเทคนิคการเขียน
๒. รู้จักแสดงออกโดยเขียนเรียบเรียงความรู้และความรู้สึกนึกคิดออกมาอย่างเป็นระเบียบ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจตรงตามที่ต้องการ
๓. การเขียนเป็นการใช้ภาษา ซึ่งต้องอาศัยการสั่งสมความรู้ความคิดจาการอ่านและการฟัง ถ้าฟังมากอ่านมากจะทำให้ผู้เขียนมีความรู้ เกิดความคิดกว้างไกล สามารถนำไปใช้ในการเขียนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
๔. การเขียนเป็นหลักฐานที่ผู้อื่นสามารถอ่านและนำไปอ้างอิงได้ ดังนั้น จึงควรเขียนด้วยความระมัดระวัง และต้องรู้จักการสรรหาถ้อยคำมาใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม
๕. งานเขียนจะมีคุณค่าได้ก็ต่อเมื่อ ทำให้ผู้อ่านพัฒนาความรู้ความคิดและอารมณ์ งานเขียนที่มีคุณค่าประกอบด้วย
๕.๑ ให้ความรู้แก่ผู้อ่าน
๕.๒ ให้ความคิดสร้างสรรค์ที่ดีงามแก่ผู้อ่านอย่างมีเหตุมีผล
๕.๓ ให้ผู้อ่านมีพัฒนาการทางอารมณ์และความรู้สึกไปในทางที่ดี

๖. งานเขียนจะต้องคำนึงถึงระดับความรู้ ความคิด และสติปัญญาของผู้อ่าน จึงควรระมัดระวังเรื่องการใช้ถ้อยคำภาษา การเสนอความรู้และความคิดที่ผู้อ่านอาจไม่มีพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ







วิธีช่วยทำให้งานเขียนได้ผลดี
การเขียนเป็นศิลปะที่ต้องใช้ความประณีตอย่างสูง ผู้ที่จะเขียนได้ดีต้องอาศัยคุณสมบัติที่มีอยู่อย่างสุดความสามารถ การที่จะสั่งสมหรือได้มาซึ่งคุณสมบัติของผู้เขียนที่ดีนั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นผู้ที่รักการเขียนต้องพยายามศึกษาหาวิธีการมาช่วยให้การเขียนของตนประสบสำเร็จ วิธีที่จะช่วยให้การเขียนประสบผลสำเร็จพอสรุปได้ ๖ วิธี คือ
๑. การอ่านหนังสือเป็น หนังสือเป็นแหล่งความรู้ที่ดีที่สุดของผู้ที่รักงานเขียน หนังสือแต่ละประเภทมีเนื้อหาสาระแตกต่างกัน บางเรื่องมีประโยชน์มาก บางเรื่องมีประโยชน์น้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้เขียนว่าจะเลือกอ่านหนังสือประเภทใดและอ่านอย่างไร คือจะต้องอ่านอย่างมีวิจารณญาณ จึงจะเกิดผลสูงสุดสำหรับผู้อ่าน เพื่อนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการเขียน
๒. รู้จักสังเกตและจดจำ ในขณะที่อ่านหนังสือควรรู้จักสังเกตและจดบันทึกไว้ว่าตอนใดจะมีแระโยชน์ต่อการเขียน เพื่อจะได้นำไปใช้ประกอบหรืออ้างอิงในการเขียนของตนต่อไป และอาจเห็นข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดที่คิดว่าไม่น่าจะนำไปเป็นแนวทางในการเขียน
๓. เกิดความคิดกว้างไกล เมื่อผู้เขียนได้หนังสือมาก โดยอ่านอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักการสังเกตจดจำ จะทำให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการหลากหลายและกว้างไกลอันจะเป็นผลทำให้เกิดงานเขียนที่มีความแปลกใหม่อยู่เสมอ
๔. ฝึกเขียนบ่อยๆ ดังได้กล่าวมาแล้วว่า การเขียนเป็นวิชาทักษะที่จะต้องอาศัยการฝึกฝนอยู่เสมอๆ ดังนั้นถ้าเขียนบ่อยๆ ก็จะทำให้เกิดพัฒนาการที่ดีในการเขียน
๕. จะต้องรู้จักการสะสมคำต่างๆ เพื่อนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องานเขียน ทำให้งานเขียนน่าอ่านยิ่งขึ้น
๖. จะต้องรู้จักการนำประสบการณ์ที่สั่งสมไปใช้ การสะสมประสบการณ์จากการอ่าน การฟัง การสัมภาษณ์ การที่ได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมสัมมนา เป็นต้น มาเป็นข้อมูลอ้างอิงและนำมาเสริมงานเขียนนั้นให้น่าสนใจ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The format The section headings.Reference: to say that the book came from a Government which.Title: to tell the story in summarySalutation: to say that this letter to anyone.Best storyIntroduction: introductionThe body is the essence of the story that conveys to readers that the authors have a purpose. ?-Privacy statement-The facts -Considerations -ResolutionPurpose: to summarize the end whether it be books, approval or acknowledgement or action.Footer.Closings: according to Regulation work Office correspondenceSigned: the Holy order of precedence must know the position of rank.Language The word is derived as a sentence-composing sentences into Thailand and based on the conventions of language, in which case the language should be used in a schema language, oral language, or semi-It was to be both the meaning of the word, as well as a variety of reverence. Choose the time and placeClear.Clear in purpose. Clear concise language using a direct aim at short. Use the word or phrase. Help bondStrong noise words are not misinterpreted, not used. Do not create an ambiguous Use words with context instead. Distributionสละสลวยการวางส่วนขยายให้อยู่ติดกับคำที่จะขยาย ใช้คำที่เป็นภาษาระดับเดียวกัน ลำดับความ ก่อนหลังให้ถูกต้อง จัดข้อความที่ต้องการเน้นให้อยู่ในตำแหน่งที่มีน้ำหนัก ใช้คำซ้ำหรือคำคล้องจองช่วย สร้างความสละสลวย ใช้คำโน้มน้าวชักนำ ฯลฯมีภาพพจน์ ใช้ข้อความที่ขัดแย้งกัน สัมพันธ์กัน เกินจริง หรือเหน็บแนม มาเปรียบเทียบให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพ ใช้ประโยคสั้น มีการลำดับเนื้อความก่อนหลังบรรลุจุดประสงค์และเป็นผลดี เขียนให้ผู้รับหนังสือเข้าใจว่า ผู้มีหนังสือไปต้องการอะไร จะให้ผู้รับหนังสือปฏิบัติอย่างไร และ โน้มน้าวจูงใจให้ผู้รับหนังสือปฏิบัติตาม โดยเป็นผลดีไม่มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์อันดี หรือไม่ ก่อให้เกิดปฏิกิริยาตอบโต้รุนแรงเนื้อหาแบบต่อเนื่อง : เขียนเป็นย่อหน้า หน้าละใจความแบบลำดับตัวเลข : ลำดับขั้น ตอนการดำเนินงาน/การปฏิบัติงานแบบลำดับกระบวนการ : เรียงลำดับเป็นหัวข้อตามเนื้อเรื่องอย่างไรก็ตาม การเขียนเอกสารแต่ละประเภท จะมีรูปแบบและวิธีการในการนำเสนอแตกต่างกัน ออกไป ซึ่งผู้เขียนจำเป็นต้องมีทักษะในการเลือกใช้ และทักษะเกิดได้จากการอ่านมาก ฟังมาก และเขียน มาก ซึ่งจะต้องฝึกฝนอยู่เสมอ จึงจะเขียนให้สื่อสารกันอย่างประสบผลสำเร็จได้หลักการพัฒนาทักษะการเขียน๑. ทักษะการเขียนเกิดจากการฝึกฝนและจะต้องทำอย่างมีระบบ คือ ๑.๑ ต้องฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอ ๑.๒ ต้องใช้เวลาฝึกนานพอควรจึงจะเกิดความชำนาญ ๑.๓ ต้องฝึกให้ถูกวิธีและถูกหลักเกณฑ์ ๑.๓.๑ ต้องสะกดคำให้ถูก เรียบเรียงถ้อยคำคำให้สื่อความหมาย ได้ชัดเจนและรู้จักการแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง ๑.๓.๒ ต้องรู้จักเทคนิคเฉพาะในการเขียนเรื่องประเภทต่างๆ เช่น การเขียนเรียงความ บทความ ทั้งในแง่วัตถุประสงค์และเทคนิคการเขียน๒. รู้จักแสดงออกโดยเขียนเรียบเรียงความรู้และความรู้สึกนึกคิดออกมาอย่างเป็นระเบียบ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจตรงตามที่ต้องการ๓. การเขียนเป็นการใช้ภาษา ซึ่งต้องอาศัยการสั่งสมความรู้ความคิดจาการอ่านและการฟัง ถ้าฟังมากอ่านมากจะทำให้ผู้เขียนมีความรู้ เกิดความคิดกว้างไกล สามารถนำไปใช้ในการเขียนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น๔. การเขียนเป็นหลักฐานที่ผู้อื่นสามารถอ่านและนำไปอ้างอิงได้ ดังนั้น จึงควรเขียนด้วยความระมัดระวัง และต้องรู้จักการสรรหาถ้อยคำมาใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม๕. งานเขียนจะมีคุณค่าได้ก็ต่อเมื่อ ทำให้ผู้อ่านพัฒนาความรู้ความคิดและอารมณ์ งานเขียนที่มีคุณค่าประกอบด้วย
๕.๑ ให้ความรู้แก่ผู้อ่าน
๕.๒ ให้ความคิดสร้างสรรค์ที่ดีงามแก่ผู้อ่านอย่างมีเหตุมีผล
๕.๓ ให้ผู้อ่านมีพัฒนาการทางอารมณ์และความรู้สึกไปในทางที่ดี

๖. งานเขียนจะต้องคำนึงถึงระดับความรู้ ความคิด และสติปัญญาของผู้อ่าน จึงควรระมัดระวังเรื่องการใช้ถ้อยคำภาษา การเสนอความรู้และความคิดที่ผู้อ่านอาจไม่มีพื้นฐานในเรื่องนั้นๆ







วิธีช่วยทำให้งานเขียนได้ผลดี
การเขียนเป็นศิลปะที่ต้องใช้ความประณีตอย่างสูง ผู้ที่จะเขียนได้ดีต้องอาศัยคุณสมบัติที่มีอยู่อย่างสุดความสามารถ การที่จะสั่งสมหรือได้มาซึ่งคุณสมบัติของผู้เขียนที่ดีนั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นผู้ที่รักการเขียนต้องพยายามศึกษาหาวิธีการมาช่วยให้การเขียนของตนประสบสำเร็จ วิธีที่จะช่วยให้การเขียนประสบผลสำเร็จพอสรุปได้ ๖ วิธี คือ
๑. การอ่านหนังสือเป็น หนังสือเป็นแหล่งความรู้ที่ดีที่สุดของผู้ที่รักงานเขียน หนังสือแต่ละประเภทมีเนื้อหาสาระแตกต่างกัน บางเรื่องมีประโยชน์มาก บางเรื่องมีประโยชน์น้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้เขียนว่าจะเลือกอ่านหนังสือประเภทใดและอ่านอย่างไร คือจะต้องอ่านอย่างมีวิจารณญาณ จึงจะเกิดผลสูงสุดสำหรับผู้อ่าน เพื่อนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการเขียน
๒. รู้จักสังเกตและจดจำ ในขณะที่อ่านหนังสือควรรู้จักสังเกตและจดบันทึกไว้ว่าตอนใดจะมีแระโยชน์ต่อการเขียน เพื่อจะได้นำไปใช้ประกอบหรืออ้างอิงในการเขียนของตนต่อไป และอาจเห็นข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดที่คิดว่าไม่น่าจะนำไปเป็นแนวทางในการเขียน
๓. เกิดความคิดกว้างไกล เมื่อผู้เขียนได้หนังสือมาก โดยอ่านอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักการสังเกตจดจำ จะทำให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการหลากหลายและกว้างไกลอันจะเป็นผลทำให้เกิดงานเขียนที่มีความแปลกใหม่อยู่เสมอ
๔. ฝึกเขียนบ่อยๆ ดังได้กล่าวมาแล้วว่า การเขียนเป็นวิชาทักษะที่จะต้องอาศัยการฝึกฝนอยู่เสมอๆ ดังนั้นถ้าเขียนบ่อยๆ ก็จะทำให้เกิดพัฒนาการที่ดีในการเขียน
๕. จะต้องรู้จักการสะสมคำต่างๆ เพื่อนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องานเขียน ทำให้งานเขียนน่าอ่านยิ่งขึ้น
๖. จะต้องรู้จักการนำประสบการณ์ที่สั่งสมไปใช้ การสะสมประสบการณ์จากการอ่าน การฟัง การสัมภาษณ์ การที่ได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมสัมมนา เป็นต้น มาเป็นข้อมูลอ้างอิงและนำมาเสริมงานเขียนนั้นให้น่าสนใจ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Form

reference section: a header of said books from any government
Title: to tell a story summary
initial. : as saying that this letter to anyone
the conductance: a preliminary story

.Body: is the essence of what you make readers know the author aims. How
-
-
- explanation fact considerations
-
purpose: settlementA summary of the end that this letter would have approved or copy, or perform
ส่วนท้าย
particles: protocol document
signing : the need to know the location, rank language honor

.Is the word to compose a sentence with sentence in English and correct according to pattern of language, any case should use the official language, language of the pattern. Or colloquial
.That was both meaning, reverence, as well as a variety of words. Choose to suit the temperate

clear clear purposes. Language is concise, clear, using words that short, aim, using words or phrases. Strengthen the
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: