Artificial rain.1. about making artificial rain. To make artificial rain at all known. The rain itself is processed to generate rain, really, by virtue of the steam in the clouds, which is in the dry season, usually floating through space. Without becoming rain Create rain, requiring scientific knowledge and convert it into a technology to techniques, tools, creating a change in nature. Create clouds, grow up. Create situations that cause the wind to help reduce levels of the clouds grow upward until the condensation rained on target areas successfully. This science requires a scientific process is recorded and analysed to establish hypotheses. Set theory and experiment until all understanding the science is the application of new knowledge to make the rain come up really to prove it has occurred in front of a group of important people in the country and from abroad. 2. the methods used in making artificial rain. 2.1. to make artificial rain in the grants, which are clouds with temperatures lower than 0° c. To make artificial rain to this form is also called a cold rain, clouds will keep working when clouds of high average approximately 21,500 feet or meters of 6,450 temperature is lower than 0 degrees Celsius as a stylus (Cumulus) clouds Moose queue will occur only during early and late rainy season. Making the artificial rain in the clouds of this type use a scattering or sowing the grain of dry ice (dry ice), or silver iodide (silver iodide) to excite reactions, cold water, even changing the status from the liquid crystals or flake ice immediately, and then loosen the enthalpy released. Such heat energy causes the air mass inside a cloud floating up above has the attraction under the cloud base, which will suck the moisture comes in, nourished, making clouds grow and there is increased rainfall, while the same buoyancy will remove a small ice chips and papers on top of this, make ice platelets, I have a larger weight than buoyancy buoyancy, it is preserved until the air comes through the floor to high temperatures to melt the ice becomes rain. 2.2.การทำฝนเทียมในเขตร้อนซึ่งมีอุณหภูมิสูงกว่า 0 องศาเซลเซียส การทำฝนเทียมแบบนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการทำฝนเมฆอุ่น มีลักษณะของก้อนเมฆก่อตัวขึ้นเป็นแนวตั้งฉากเป็นเมฆคิวเมฆคิวมูลัส (cumulus) ซึ่งสังเกตได้จากกลุ่มเมฆจะมีลักษณะฐานเมฆสีดำ ก้อนเมฆก่อตัวขั้นคล้ายดอกกะหล่ำปีอยู่ที่ระดับความสูงของฐานเมฆไม่เกิน 16,000 ฟุต มีอุณหภูมิภายในก้อนเมฆสูงกว่า 0 องศาเซลเซียส การทำฝนเทียมในเมฆชนิดนี้จะใช้สารเคมีเพื่อกระตุ้นให้เดกระบวนการชนและรวมตัวกันของเม็ดเมฆขนาดต่างๆ3.ขั้นตอนการทำฝนเทียมการทำฝนเทียมประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้ขั้นที่ 1 ก่อกวน ( Triggering ) เป็นการดัดแปรสภาพอากาศด้วยการก่อกวนสมดุลย์ (Equilibrium) หรือ เสถียรภาพ (Stability) ของมวลอากาศเป็นแห่งๆโดยการโปรยสารเคมีประเภท คายความร้อน ( Exothermic chemical) ในท้องฟ้าที่ระดับของฐานเมฆในแต่ละวัน และโปรยสารเคมีประเภทดูดความร้อน (Endothermic chemicals) ที่ระดับสูงกว่า 2,000-3,000 ฟุต ทั้งนี้เพื่อช่วยให้เกิดเมฆเร็วขึ้น และปริมาณมากกว่าที่เกิดที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยเริ่มก่อกวนในช่วงเวลาเช้าทางด้านเหนือลมของพื้นที่ เป้าหมายหวังผลที่วางแผนกำหนดไว้ในแต่ละวันขั้นที่ 2 เลี้ยงให้อ้วน (Fatten) เป็นการดัดแปรสภาพอากาศและก้อนเมฆด้วยการกระตุ้นหรือเร่งการเจริญเติบโตของก้อนเมฆที่ก่อตัวแล้ว ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นทางฐานเมฆและยอดเมฆ ให้ขนาดหยดน้ำใหญ่ขึ้น และปริมาณน้ำในก้อนเมฆมากขึ้น และหนาแน่นเกินกว่าที่จะปล่อยให้เจริญเองตามธรรมชาติ ด้วยการโปรยสารเคมีประเภทที่เมื่อดูดซับความชื้นแล้วทำให้อุณหภูมิลดต่ำลงที่ระดับฐานเมฆหรือยอดเมฆโดยบินโปรยสารเคมีเข้าสู่ก้อนเมฆโดยตรงหรือโปรยรอบๆ และระหว่างช่องว่างของก้อนเมฆทางด้านหรือลมให้กระแสลมพัดพาสาเคมีเข้าสู่ก้อนเมฆ หรือโปรยสารเคมีประเภทคายความร้อนสลับสารเคมีประเภทคายความเย็นในอัตราส่วน 1:4 ทับยอดเมฆทั่วบริเวณที่มีความหนา 2,000-3,000 ฟุต ปกคลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง หรือบริเวณพื้นที่ใต้ลมของบริเวณที่เริ่มต้นก่อกวน ทั้งนี้สุดแล้วแต่สภาพของเครื่องบิน ภูมิประเทศ และขณะอากาศขณะนั้นจะอำนวยให้ขั้นที่ 3 โจมตี (Attack) เป็นการดัดแปรสภาพอากาศในก้อนเมฆโดยตรงหรือบริเวณใต้ฐานเมฆ หรือบริเวณที่ต้องการ ชักนำเมฆฝนที่ตกอยู่แล้วเคลื่อนเข้าสู่พื้นที่ที่ต้องการ เป็นการบังคับหรือเหนี่ยวนำให้เมฆที่แก่ตัวจัดแล้วตกเป็นฝนลงสู่พื้นที่เป้าหมายหวังผลที่วางแผนกำหนดไว้ โดยใช้เครื่องบิน บินโปรยสารเคมีประเภทดูดความร้อนเข้าไปโดยตรงที่ฐานเมฆ หรือยอดเมฆ หรือที่ระดับระหว่างฐานเมฆและยอดเมฆ ชิดขอบเมฆทางด้านเหนือลมหรือใช้เครื่องบิน 2 เครื่องโปรยพร้อมกันแบบแซนด์วิช (Sandwich) เครื่องหนึ่งโปรยที่ฐานเมฆใต้ลม อีกเครื่องโปรยด้านเหนือชิดลมขอบเมฆที่ระดับยอดเมฆหรือไหล่เมฆ เครื่องบินทั้งสองทุมเยื้องกัน 45 องศา หรือโปรยสารเคมีประเภทดูดความร้อนที่ระดับต่ำกว่าฐานเมฆ ไม่น้อยกว่า 1,000ฟุต หรือสร้างจุดเย็นด้วยสารเคมีประเภทดูดความร้อนเป็นบริเวณแคบในบริเวณที่เป้าหมายหวังผล เพื่อเหนี่ยวนำให้ฝนที่กำลังตกอยู่เคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณที่ต้องการนั้น4.สารเคมีที่ใช้ในการทำฝนเทียม
4.1.สารเคมีประเภทคายความร้อนหรือทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น (Exothermic chemical)ปัจจุบันมีใช้ในการทำฝนเทียมในประเทศไทย 3ชนิด คือ
4.1.1.แคลเซียมคาร์บอน (Calcium carbide ; CaC2)
4.1.2.แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium Chloride ; CaCl2)
4.1.3. แคลเซียมออกไซด์ ( Calcium oxide ; CaO)
4.2.สารเคมีประเภทดูดกลืนความร้อนหรือทำให้อุณหภูมิต่ำขึ้น (Endothermic chemical)ปัจจุบัน
มีใช้ในการทำฝนเทียม 3ชนิด คือ
4.2.1. ยูเรีย ( Urea ;Co()NH2)2)
4.2.2.น้ำแข็งแห้ง (Dry ice ; Co2(s))
4.2.3. แอมโมเนียไนเทรต ( Ammoniumnitrate ; NH4NO3)
4.3.สารเคมีที่ทำหน้าที่ดูดซับความชื้นประการเดียว ได้แก่ เกลือ
5.ประโยชน์ของการทำฝนเทียม
5.1.เพื่อการเกษตร ช่วยแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำในช่วงที่เกิดภาวะฝนแล้ง ช่วยเพิ่มปริมาณให้กับพื้นที่ลุ่มรับน้ำของแม่น้ำสายต่างๆที่มีปริมาณน้ำลดลง
5.2.เพื่ออุปโภคบริโภค
5.3.เสริมเส้นทางคมนาคมทางน้ำ
5.4.ป้องกันและบำบัดภาวะมลพิษของสิ่งแวดล้อม
5.5.เพิ่มปริมาณน้ำในเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
5.6.ความสำเร็จการยอมรับและการทำฝนเทียมในอนาคต
การแปล กรุณารอสักครู่..