An analysis of the behavior of reinforced concrete wall-weight pieces can be finished can be divided into 3 stages: while removing the raise, move and install time and the actual time baring by each step looks at weight habits vary.1. behavior when removing the ขั้นตอนนี้ในกรณีที่แบบหล่อไม่สามารถหมุนตั้งขึ้นได้ ผนังคอนกรีตจะถูกยกตั้งขึ้นในแนวดิ่งเพื่อเตรียมขนย้าย ดังนั้น ผนังจะรับเฉพาะน้ำหนักบรรทุกตัวเอง โดยมีลักษณะคล้ายคานกว้าง มีจุดรองรับที่ปลายด้านหนึ่งเป็นจุดหมุนและอีกด้านหนึ่งเป็นจุดยก ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปที่ 1 มีข้อพิจารณาด้านการออกแบบที่ต้องคำนึงถึงทั้งด้านหน่วยแรงและข้อกำหนดด้านกำลังได้แก่ หน่วยแรงดึง กำลังรับโมเมนต์ดัดและกำลังแรงเฉือน โดยการตรวจสอบหน่วยแรงดึงสูงสุด ( ót ) ที่เกิดจากการดัดตามสมการที่ (1) จะทำให้สามารถหาค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต ( ƒ´c) ที่ต้องการขณะถอดแบบที่ป้องกันการแตกร้าวในผนัง ót ≤ ƒr (1) Where is the modulus ƒr crack or getting your concrete tensile strength equal to 2.0 (√? Ƒ ´ c) kg/cm 2 for verification of resistance to bending moment is checking and shear occurred while removing a wall to protect the fracture according to equation (2) and (3) equation. oM n ≥ M u (2) Where o = 0.9 M n is the bending moment is u and M is the torque caused by the weight cut pralai wall, a strong factor. oV c ≥ V u (3) Where o = 0.85 V c, is the shear of reinforced concrete is equal to 2.0 bd √ (ƒ ´ c). Kg u and V are shear walls, which pralai caused by weight loss motivation factor. รูปที่ 1 ตัวอย่างการรับน้ำหนักของผนังคอนกรีตขณะถอดแบบ2.พฤติกรรมขณะยกขนย้าย ขณะยกขนย้าย ผนังจะรับเฉพาะน้ำหนักตัวเองในแนวดิ่ง โดยมีจุดรองรับที่ตำแหน่งจุดยกเท่านั้น (ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปที่ 2) ในกรณีนี้เพื่อป้องกันการแตกร้าว จะต้องตรวจสอบหน่วยแรงดึงที่เกิดขึ้น ( ót ) โดยต้องมีค่าไม่เกินกว่ากำลังรับแรงดึงภายใต้แรงดึงตรงของคอนกรีต (Direct tensile strength) ตามสมการที่ (4) และต้องตรวจสอบกำลังของเหล็กเสริมให้สามารถรับแรงดึงที่เกิดขึ้นได้ในกรณีหน้าตัดเกิดรอยร้าว ตามสมการที่ (5) ót ≤ ƒr (4) โดยที่ ƒr คือกำลังรับแรงดึงของคอนกรีต มีค่าเท่ากับ 1.6√( ƒ´c) หรือ 0.1 ƒ´c กก./ซม.2 oP n ≥ P u (5) โดยที่ o = 0.9 P n คือกำลังรับแรงดึงระบุของเหล็กเสริมมีค่าเท่ากับ As ƒy และ Pu คือแรงดึงประลัยที่เกิดจากน้ำหนักผนังซึ่งตัวคูณแรงแล้ว รูปที่ 2 ตัวอย่างการรับน้ำหนักของผนังคอนกรีตและยกข้นย้าย3.พฤติกรรมการรับน้ำหนักจริง ขณะรับน้ำหนักจริง ผนังคอนกรีตจะรับน้ำหนักบรรทุกต่าง ๆ นอกเหนือจากน้ำหนักตัวเอง ได้แก่ น้ำหนักจากหลังคา น้ำหนักจากพิ้น น้ำหนักจากผนังชั้นบน และน้ำหนักบันได เป็นต้น ซึ่งประกอบด้วยน้ำหนักบรรทุกตายตัวและน้ำหนักบรรทุกจร (ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปที่ 3) โดยปกติสำหรับอาคารสูงหรือสูงปานกลางอาจต้องงพิจารณาผลของแรงลมด้วยรูปที่ 3 ตัวอย่างการรับน้ำหนักของผนังขณะรับน้ำหนักจริง
การแปล กรุณารอสักครู่..