การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของนัก การแปล - การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของนัก อังกฤษ วิธีการพูด

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ปีการศึกษา พ.ศ.2556 (2) ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยที่มีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทย และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการแสดงพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ จากนักเรียนนายร้อย ชั้นปีที่ 1- 4 รวมจำนวน 797 คน สามารถเก็บตัวอย่างได้ 590 คน เครื่องมือวิจัยใช้แบบสอบถามและการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (xˉ) ค่าร้อยละ (%) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 9 คน ได้แก่ รองผู้บัญชาการ รร.จปร. จำนวน 1 คน อาจารย์ประจำกองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ จำนวน 2 คน นายทหารปกครอง กรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ จำนวน 2 คน และผู้แทนนักเรียนนายร้อยแต่ละชั้นปี ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 4 คน เครื่องมือวิจัยใช้การสัมภาษณ์และวิเคราะห์เชิงพรรณนา
ผลการวิจัย (1) พฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย จากการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่ามีการแสดงออกพฤติกรรมทางการเมืองอยู่ในระดับปานกลาง (xˉ=3.29) โดยแสดงพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งมากที่สุด (xˉ=3.99) และการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่านักเรียนนายร้อยแสดงพฤติกรรมการมีส่วนรวมในกิจกรรมการเลือกตั้งมากที่สุด เป็นผลมาจากการสนับสนุนของ รร.จปร. เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล และป้องกันการเสียสิทธิทางการเมือง (2) พฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยที่มีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทย จากการวิจัยเชิงปริมาณ เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน พบว่าพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยมีความสัมพันธ์ทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 กับพัฒนาการทางการเมืองไทย ไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งด้านความเสมอภาค ด้านการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผล และด้านความสามารถในการปรับตัวของรัฐบาล ตามลำดับ และการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าพฤติกรรมทางการเมืองจะมีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทยในทุกๆ ด้าน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งจะมีผลต่อการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผลมากที่สุด เพราะต้องใช้เหตุผลในการตัดสินใจ และผู้ที่ได้รับเลือกก็ต้องใช้เหตุผลในการทำงาน การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองจะมีผลต่อด้านความเสมอภาคและการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผลมากที่สุด เพราะความเสมอภาคและหลักการใช้เหตุผลคือพื้นฐานสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย และการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองจะมีผลต่อด้านความสามารถในการปรับตัวของรัฐบาลมากที่สุด เพราะการรับรู้ข่าวสารนำไปสู่ความตื่นตัวทางการเมือง มีการติดตามและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล จากผลการวิจัยทั้งสองแบบพบว่ามีความสอดคล้องกัน โดยพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยจะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพัฒนาการทางการเมืองไทย และ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการแสดงพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย ได้แก่ ด้านตัวนักเรียนนายร้อยที่บางส่วนยังขาดความเข้าใจและมีทัศนคติเชิงลบต่อการเมืองแบบประชาธิปไตย ข้อจำกัดด้านเวลา เพราะต้องฝึกศึกษาตามหลักสูตรที่เน้นการสร้างนายทหารอาชีพในบทบาทผู้พิทักษ์ ประกอบกับสภาพสังคมนักเรียนนายร้อยที่มีแบบแผนในการดำรงชีวิตและต้องทำตามระเบียบปฏิบัติประจำวัน ด้านระบบและธรรมเนียมทหารที่ต้องยึดถือ และการปฏิบัติตามกรอบนโยบายของผู้บังคับบัญชาที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการมีส่วนร่วมแบบประชาธิปไตยเท่าที่ควร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
This research is intended to (1) learn the political behaviour of cadets. Phrachunchomklao Officer school academic year 2556 (2013) (2) Study on the political behaviour of cadets that affect development, political and (3) study of problems and obstacles in the political behaviour of cadets. This time the research study consists of quantitative research, qualitative and quantitative research by cadets from grade 1 – 4 of 797 people can store, for example, has 590 people research tool using a questionnaire and statistical data analysis workshop Description: average (x ˉ) percent (%) values, standard deviation (SD) and the Pearson correlation coefficient values. Qualitative research Used to select a specific sample of 9 people, including Deputy Commander of the very many people stack chapon 1 law lecturer, Department of social sciences, and. The number two military cadets, Department of Government, he maintained the number 2 man and UPR cadets each year. Grade 1-4 of 4 research tool people use to describe a complex analysis and interviews. ผลการวิจัย (1) พฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย จากการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่ามีการแสดงออกพฤติกรรมทางการเมืองอยู่ในระดับปานกลาง (xˉ=3.29) โดยแสดงพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งมากที่สุด (xˉ=3.99) และการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่านักเรียนนายร้อยแสดงพฤติกรรมการมีส่วนรวมในกิจกรรมการเลือกตั้งมากที่สุด เป็นผลมาจากการสนับสนุนของ รร.จปร. เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล และป้องกันการเสียสิทธิทางการเมือง (2) พฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยที่มีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทย จากการวิจัยเชิงปริมาณ เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน พบว่าพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยมีความสัมพันธ์ทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 กับพัฒนาการทางการเมืองไทย ไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งด้านความเสมอภาค ด้านการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผล และด้านความสามารถในการปรับตัวของรัฐบาล ตามลำดับ และการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าพฤติกรรมทางการเมืองจะมีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทยในทุกๆ ด้าน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งจะมีผลต่อการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผลมากที่สุด เพราะต้องใช้เหตุผลในการตัดสินใจ และผู้ที่ได้รับเลือกก็ต้องใช้เหตุผลในการทำงาน การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองจะมีผลต่อด้านความเสมอภาคและการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผลมากที่สุด เพราะความเสมอภาคและหลักการใช้เหตุผลคือพื้นฐานสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย และการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองจะมีผลต่อด้านความสามารถในการปรับตัวของรัฐบาลมากที่สุด เพราะการรับรู้ข่าวสารนำไปสู่ความตื่นตัวทางการเมือง มีการติดตามและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล จากผลการวิจัยทั้งสองแบบพบว่ามีความสอดคล้องกัน โดยพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยจะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพัฒนาการทางการเมืองไทย และ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการแสดงพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย ได้แก่ ด้านตัวนักเรียนนายร้อยที่บางส่วนยังขาดความเข้าใจและมีทัศนคติเชิงลบต่อการเมืองแบบประชาธิปไตย ข้อจำกัดด้านเวลา เพราะต้องฝึกศึกษาตามหลักสูตรที่เน้นการสร้างนายทหารอาชีพในบทบาทผู้พิทักษ์ ประกอบกับสภาพสังคมนักเรียนนายร้อยที่มีแบบแผนในการดำรงชีวิตและต้องทำตามระเบียบปฏิบัติประจำวัน ด้านระบบและธรรมเนียมทหารที่ต้องยึดถือ และการปฏิบัติตามกรอบนโยบายของผู้บังคับบัญชาที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการมีส่วนร่วมแบบประชาธิปไตยเท่าที่ควร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ปีการศึกษา พ.ศ.2556 (2) ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยที่มีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทย และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการแสดงพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ จากนักเรียนนายร้อย ชั้นปีที่ 1- 4 รวมจำนวน 797 คน สามารถเก็บตัวอย่างได้ 590 คน เครื่องมือวิจัยใช้แบบสอบถามและการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (xˉ) ค่าร้อยละ (%) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 9 คน ได้แก่ รองผู้บัญชาการ รร.จปร. จำนวน 1 คน อาจารย์ประจำกองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ จำนวน 2 คน นายทหารปกครอง กรมนักเรียนนายร้อยรักษาพระองค์ จำนวน 2 คน และผู้แทนนักเรียนนายร้อยแต่ละชั้นปี ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 4 คน เครื่องมือวิจัยใช้การสัมภาษณ์และวิเคราะห์เชิงพรรณนา
ผลการวิจัย (1) พฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย จากการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่ามีการแสดงออกพฤติกรรมทางการเมืองอยู่ในระดับปานกลาง (xˉ=3.29) โดยแสดงพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งมากที่สุด (xˉ=3.99) และการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่านักเรียนนายร้อยแสดงพฤติกรรมการมีส่วนรวมในกิจกรรมการเลือกตั้งมากที่สุด เป็นผลมาจากการสนับสนุนของ รร.จปร. เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล และป้องกันการเสียสิทธิทางการเมือง (2) พฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยที่มีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทย จากการวิจัยเชิงปริมาณ เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน พบว่าพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยมีความสัมพันธ์ทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 กับพัฒนาการทางการเมืองไทย ไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งด้านความเสมอภาค ด้านการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผล และด้านความสามารถในการปรับตัวของรัฐบาล ตามลำดับ และการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าพฤติกรรมทางการเมืองจะมีผลต่อพัฒนาการทางการเมืองไทยในทุกๆ ด้าน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งจะมีผลต่อการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผลมากที่สุด เพราะต้องใช้เหตุผลในการตัดสินใจ และผู้ที่ได้รับเลือกก็ต้องใช้เหตุผลในการทำงาน การปลูกฝังอุดมการณ์ทางการเมืองจะมีผลต่อด้านความเสมอภาคและการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผลมากที่สุด เพราะความเสมอภาคและหลักการใช้เหตุผลคือพื้นฐานสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย และการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองจะมีผลต่อด้านความสามารถในการปรับตัวของรัฐบาลมากที่สุด เพราะการรับรู้ข่าวสารนำไปสู่ความตื่นตัวทางการเมือง มีการติดตามและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล จากผลการวิจัยทั้งสองแบบพบว่ามีความสอดคล้องกัน โดยพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อยจะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพัฒนาการทางการเมืองไทย และ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการแสดงพฤติกรรมทางการเมืองของนักเรียนนายร้อย ได้แก่ ด้านตัวนักเรียนนายร้อยที่บางส่วนยังขาดความเข้าใจและมีทัศนคติเชิงลบต่อการเมืองแบบประชาธิปไตย ข้อจำกัดด้านเวลา เพราะต้องฝึกศึกษาตามหลักสูตรที่เน้นการสร้างนายทหารอาชีพในบทบาทผู้พิทักษ์ ประกอบกับสภาพสังคมนักเรียนนายร้อยที่มีแบบแผนในการดำรงชีวิตและต้องทำตามระเบียบปฏิบัติประจำวัน ด้านระบบและธรรมเนียมทหารที่ต้องยึดถือ และการปฏิบัติตามกรอบนโยบายของผู้บังคับบัญชาที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการมีส่วนร่วมแบบประชาธิปไตยเท่าที่ควร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The purposes of this study were to (1) to study the political behavior of the cadet. The Chulachomklao Royal Military Academy academic year.2556 (2) to study the political behavior of the Cadet on Thai political development, and (3) to study the problems and obstacles in the political behavior of the Cadet
.This research includes quantitative and qualitative research quantitative from Cadet year 1 - 4 total 797 people. Capable of sampling 590 people.The mean (x ˉ) percentage (%), the standard deviation (SD.) and the correlation coefficient. Qualitative research used to select samples random number 9 people, including the Deputy Commissioner Chulachomklao Royal Military Academy SchoolThe 1 people teacher in law and Social Sciences Division, the number of people, the administrative department of 2 students he promises, the 2 people. Representatives of each class cadets and students 1-4 number 4 people.
.The results (1) political behavior of the Cadet from quantitative research. Find expression in the aspect of political behavior (x ˉ = 3.29) by acting to participate in election activities as much as possible. (x ˉ = 3.99) and qualitative research. Found that the show has included cadets behavior in election activities as much as possible. As a result of the support of the Chulachomklao Royal Military Academy SchoolTo fulfill the policy of the government. And prevention of losing political rights (2) political behavior of the Cadet on Thai political development from quantitative research.Found that the political behavior of the cadets were statistically correlated to the 0.01 with Thai political development, go in the same direction. The equality. The construction of political culture for a reason. The adaptation ability of the government, respectively, and qualitative research.The participation in election activities will result in the creation of the political culture with เหตุผลมาก. Because of the need to use reasoning in decision making. And those who have chosen to use the reason in the work.Because the equality and main reasoning is the basis of the democracy. And the political cognition will affect the adaptability of the government as much as possible.Tracking and monitoring the work of the government. From the results, both were found to be consistent. The political behavior of the cadet will have positive relationship with the development ทางการเมืองไทย and (3).Namely, the cadets and some still lack of negative attitudes towards การเมืองแบบ democracy limitation of time. Because of the need to train a study based on the course that focuses on building military career in the role of defender.The system and tradition to hold the soldier And follow the policy framework of the unfavorable to the participation and democracy as it should be!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: