บทที่ 11ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้นค่าเสื่อมราคา (Depreciation Expenses การแปล - บทที่ 11ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้นค่าเสื่อมราคา (Depreciation Expenses อังกฤษ วิธีการพูด

บทที่ 11ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้นค

บทที่ 11
ค่าเสื่อมราคาและค่าสูญสิ้น
ค่าเสื่อมราคา (Depreciation Expenses)
ค่าเสื่อมราคา คือ จำนวนเงินที่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรเสื่อมค่าลงอันเนื่องมาจากการใช้งานสินทรัพย์ถาวรนั้น ดังที่เคยอธิบายแล้วในบทที่ 1 เรื่องสินทรัพย์ ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นมีอายุการใช้งานเกิน 1 ปี แต่ เมื่อใช้ไปแล้วจริงอยู่ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นยังไม่หมดไป แต่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรนั้นก็ไม่เหลือเท่าเดิมแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากสินทรัพย์ถาวรนั้นมีการเสื่อมค่าลงตามการใช้งานนั่นเอง การที่สินทรัพย์ถาวรนั้นเสื่อมค่าลงในแต่ละปี จนหมดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ถาวรนั้น คือ ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี ซึ่งบัญชีค่าเสื่อมราคานี้ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ กิจการจะต้องทำการปรับปรุงบัญชีสำหรับค่าเสื่อมราคานี้ทุกวันสิ้นงวดบัญชีของกิจการ ทั้งนี้เนื่องจากจะได้ปรับปรุงมูลค่าสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริง ซึ่งสินทรัพย์ถาวรทุกชนิดจะต้องมีการคิดค่าเสื่อมราคา ยกเว้นที่ดิน
ในการปรับปรุงบัญชีสำหรับค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรนี้ บันทึกบัญชีได้โดย เดบิต ค่าเสื่อมราคา และเครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งเป็นบัญชีปรับมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริง โดยที่บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสมนี้เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ที่มียอดคงเหลืออยู่ทางด้านเครดิต เพื่อจะเอาไว้ปรับมูลค่าของสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริงนั่นเอง โดยที่สินทรัพย์ถาวรสุทธิ จะเท่ากับสินทรัพย์ถาวรที่ราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ซึ่งยอดของค่าเสื่อมราคาสะสมจะเพิ่มขึ้นทุกปี จะทำให้ยอดของสินทรัพย์ถาวรสุทธิลดลงทุกปีเช่นกัน ซึ่งถูกต้องตามความเป็นจริง

การคิดค่าเสื่อมราคา
การคิดค่าเสื่อมราคามีวิธีการคิดมากมายหลายวิธี แต่ไม่ว่าจะใช้วิธีใด ก็จะต้องทราบข้อมูล ดังนี้
ราคาทุนของสินทรัพย์ถาวร (Cost of Assets)คือ ต้นทุนทั้งหมดที่กิจการจ่ายไปเพื่อที่จะได้มาซึ่งสินทรัพย์ถาวรนั้นในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน ดังนั้น ราคาทุนก็จะประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จะทำให้สินทรัพย์นั้นอยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน เช่น ค่าขนส่ง ค่าติดตั้ง เป็นต้น
อายุการใช้งานโดยประมาณ (Estimated Life)คือ ระยะเวลาที่กิจการประมาณว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นจะใช้ได้
มูลค่าซาก (Salvage Value) คือ จำนวนเงินที่คาดว่าจะได้รับจากการขายสินทรัพย์นั้นเมื่อหมดอายุการใช้งาน


การบันทึกบัญชี
เดบิต ค่าเสื่อมราคา - ชื่อสินทรัพย์ xxx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม - ชื่อสินทรัพย์ xxx
ค่าเสื่อมราคา ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการที่ไม่ได้เป็นตัวเงิน เนื่องจากเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ซึ่งมีราคาสูง และมีการใช้งานหลายปี ถ้าจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนเลยก็จะทำให้มีค่าใช้จ่ายสูง ในปีที่ซื้อสินทรัพย์ ส่วนปีถัดไปจะไม่มีค่าใช้จ่ายเลยแม้ว่าจะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ๆ ดังนั้นจึงต้องมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายตามจำนวนปีที่จะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น
ค่าเสื่อมราคาสะสม เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ แต่เป็นตัวลดยอดของสินทรัพย์นั้น ๆ เพราะเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ก็จะบันทึกเป็นสินทรัพย์ แต่สินทรัพย์นี้เมื่อมีการใช้งานแล้วจะเสื่อมค่าลง ดังนั้นทุกสิ้นปีจึงต้องบันทึกค่าเสื่อมราคา
วิธีคำนวณค่าเสื่อมราคา
1.วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method )
2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method)
3. วิธีคำนวณตามผลผลิต(Productive-output method)
4. วิธีลดลงทุกปี (Reducing-charge method)
ก.Declining balance method
ข. Double-declining balance method
ค. Sum of years’ digits method
5.Group depreciation
6. Composite depreciation
7. โดยวิธีอื่นๆ
1. วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method )
การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้ตั้งอยู่บนข้อสมมติฐานว่า สินทรัพย์จะเสื่อมสภาพไปตามระยะเวลามากกว่าการใช้งาน และการเสื่อมสภาพนั้นเป็นการเสื่อมสภาพในอัตราที่เท่ากันทุกปี ดังนั้น ค่าเสื่อมราคาจึงเท่ากันทุกปีตามอัตราการเสื่อมสภาพ วิธีนี้นิยมใช้กันมากเพราะเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรงจะเป็นการปันส่วนมูลค่าเสื่อมสภาพของสินทรัพย์ให้เป็นค่าเสื่อมราคาที่เท่ากันทุกปีตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์นั้น ซึ่งค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะคำนวณได้ดังนี้
ค่าเสื่อมราคา/ปี = มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี)
อายุการใช้งาน
หรือ ค่าเสื่อมราคา/ปี = (มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี) ) x อัตราค่าเสื่อมราคา
เมื่อคำนวณค่าเสื่อมราคาได้ ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปัจจุบัน กิจการจะทำการบันทึกบัญชีดังนี้
เดบิต ค่าเสื่อมราคา - ชื่อสินทรัพย์ xxx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม - ชื่อสินทรัพย์ xxx

ตัวอย่างที่ 1. วันที่ 1 มกราคม 2541 ซื้อเครื่องจักรราคาทุน 120,000 บาท ประมาณอายุการใช้งาน 5 ปี ราคาขายซาก 20,000 บาท
ค่าเสื่อมราคาต่อปี = 120,000-20,000
5 ปี
= 20,000 บาท
การบันทึกบัญชี
ธ.ค 31Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร


2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method)
การคำนวณค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้จะเฉลี่ยต้นทุนขิงสินทรัพย์ ตามชั่วโมงทำงาน ที่กิจกรจะได้รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ดังนั้นค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะมีจำนวนไม่เท่ากัน เพราะอยู่กับชั่วโมงการทำงานของสินทรัพย์ในแต่ละปี ว่าใช้ชั่วโมงการทำงานมากหรือน้อย ดังนี้
1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = ราคาทุน-ราคาซาก
ประมาณชั่วโมงการทำงาน
2. ค่าเสื่อมราคาต่อปี = อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง×จำนวนชั่วโมงการทำงานในแต่ละปี

ตัวอย่างที่ 2 จากโจทย์ที่ 1 สมมติว่าเครื่องจักรประมาณว่าจะใช้งานได้ 50,000 ชั่วโมง และกิจการเดินเครื่องจักรในแต่ละปี ดังนี้
ปี 2541 10,000 ชั่วโมง
ปี 2542 25,000 ชั่วโมง
การคำนวณ
1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = 120,000-20,000
50,000
= 2 บาท
2. ค่าเสื่อมราคาแต่ละปี
ปี 2541 = 2×10,000
= 20,000 บาท
ปี 2542 = 2×25,000
= 50,000 บาท
การบันทึกบัญชี
ปี 2541
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
ปี 2542
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 50,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 50,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Chapter 11Depreciation and value to disappearDepreciation (Depreciation Expenses). ค่าเสื่อมราคา คือ จำนวนเงินที่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรเสื่อมค่าลงอันเนื่องมาจากการใช้งานสินทรัพย์ถาวรนั้น ดังที่เคยอธิบายแล้วในบทที่ 1 เรื่องสินทรัพย์ ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นมีอายุการใช้งานเกิน 1 ปี แต่ เมื่อใช้ไปแล้วจริงอยู่ว่าสินทรัพย์ถาวรนั้นยังไม่หมดไป แต่มูลค่าของสินทรัพย์ถาวรนั้นก็ไม่เหลือเท่าเดิมแล้ว ทั้งนี้เนื่องจากสินทรัพย์ถาวรนั้นมีการเสื่อมค่าลงตามการใช้งานนั่นเอง การที่สินทรัพย์ถาวรนั้นเสื่อมค่าลงในแต่ละปี จนหมดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ถาวรนั้น คือ ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี ซึ่งบัญชีค่าเสื่อมราคานี้ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ กิจการจะต้องทำการปรับปรุงบัญชีสำหรับค่าเสื่อมราคานี้ทุกวันสิ้นงวดบัญชีของกิจการ ทั้งนี้เนื่องจากจะได้ปรับปรุงมูลค่าสินทรัพย์ถาวรให้ตรงกับความเป็นจริง ซึ่งสินทรัพย์ถาวรทุกชนิดจะต้องมีการคิดค่าเสื่อมราคา ยกเว้นที่ดินIn the adjustment for depreciation on this fixed asset Recorded by debits and credits accumulated depreciation, which is adjusted to match the value of the fixed asset to the fact. By that account, this account is accumulated depreciation an asset category that are outstanding on the credit. To be taken to adjust the value of the fixed asset to meet the realities themselves. Where the net fixed assets, the fixed asset is equal to the cost price less accumulated depreciation, which is the amount of accumulated depreciation increases each year to make the amount of the net fixed assets decreased every year, which is based on the fact.Depreciation. Depreciation is charged so many different ways, but no matter which method is used, it will need to know the following information: The price of the fixed asset (Cost of Assets) are all gross costs paid to the acquisition of the fixed asset that is ready to use, so the price of capital will comprise the purchase price, and other expenses to make the assets available are in use, such as freight, installation, etc. The estimated useful life (Estimated Life) is a period of time, about a joint venture that will use it. Salvage value (Salvage Value) is the amount expected to be received from the sale of an asset when the lifetime.To save the account. Debit asset depreciation-the name xxx Credit accumulated depreciation-assets: name xxxค่าเสื่อมราคา ถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการที่ไม่ได้เป็นตัวเงิน เนื่องจากเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ซึ่งมีราคาสูง และมีการใช้งานหลายปี ถ้าจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจำนวนเลยก็จะทำให้มีค่าใช้จ่ายสูง ในปีที่ซื้อสินทรัพย์ ส่วนปีถัดไปจะไม่มีค่าใช้จ่ายเลยแม้ว่าจะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ๆ ดังนั้นจึงต้องมีการเฉลี่ยค่าใช้จ่ายตามจำนวนปีที่จะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ค่าเสื่อมราคาสะสม เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ แต่เป็นตัวลดยอดของสินทรัพย์นั้น ๆ เพราะเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ก็จะบันทึกเป็นสินทรัพย์ แต่สินทรัพย์นี้เมื่อมีการใช้งานแล้วจะเสื่อมค่าลง ดังนั้นทุกสิ้นปีจึงต้องบันทึกค่าเสื่อมราคา วิธีคำนวณค่าเสื่อมราคา1.วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method )2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method)3. วิธีคำนวณตามผลผลิต(Productive-output method)4. วิธีลดลงทุกปี (Reducing-charge method) ก.Declining balance method ข. Double-declining balance method ค. Sum of years’ digits method5.Group depreciation6. Composite depreciation7. โดยวิธีอื่นๆ1. วิธีเส้นตรง ( Straight – line Method ) การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้ตั้งอยู่บนข้อสมมติฐานว่า สินทรัพย์จะเสื่อมสภาพไปตามระยะเวลามากกว่าการใช้งาน และการเสื่อมสภาพนั้นเป็นการเสื่อมสภาพในอัตราที่เท่ากันทุกปี ดังนั้น ค่าเสื่อมราคาจึงเท่ากันทุกปีตามอัตราการเสื่อมสภาพ วิธีนี้นิยมใช้กันมากเพราะเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก การคิดค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรงจะเป็นการปันส่วนมูลค่าเสื่อมสภาพของสินทรัพย์ให้เป็นค่าเสื่อมราคาที่เท่ากันทุกปีตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์นั้น ซึ่งค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะคำนวณได้ดังนี้ ค่าเสื่อมราคา/ปี = มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี) อายุการใช้งาน หรือ ค่าเสื่อมราคา/ปี = (มูลค่าสินทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี) ) x อัตราค่าเสื่อมราคาเมื่อคำนวณค่าเสื่อมราคาได้ ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีปัจจุบัน กิจการจะทำการบันทึกบัญชีดังนี้ เดบิต ค่าเสื่อมราคา - ชื่อสินทรัพย์ xxx เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม - ชื่อสินทรัพย์ xxxตัวอย่างที่ 1. วันที่ 1 มกราคม 2541 ซื้อเครื่องจักรราคาทุน 120,000 บาท ประมาณอายุการใช้งาน 5 ปี ราคาขายซาก 20,000 บาทค่าเสื่อมราคาต่อปี = 120,000-20,000 5 ปี = 20,000 บาทการบันทึกบัญชีธ.ค 31Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000 ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร 2. วิธีชั่วโมงการทำงาน ( Working-hours method) การคำนวณค่าเสื่อมราคาตามวิธีนี้จะเฉลี่ยต้นทุนขิงสินทรัพย์ ตามชั่วโมงทำงาน ที่กิจกรจะได้รับผลประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ดังนั้นค่าเสื่อมราคาแต่ละปีจะมีจำนวนไม่เท่ากัน เพราะอยู่กับชั่วโมงการทำงานของสินทรัพย์ในแต่ละปี ว่าใช้ชั่วโมงการทำงานมากหรือน้อย ดังนี้1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = ราคาทุน-ราคาซาก ประมาณชั่วโมงการทำงาน2. ค่าเสื่อมราคาต่อปี = อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง×จำนวนชั่วโมงการทำงานในแต่ละปีตัวอย่างที่ 2 จากโจทย์ที่ 1 สมมติว่าเครื่องจักรประมาณว่าจะใช้งานได้ 50,000 ชั่วโมง และกิจการเดินเครื่องจักรในแต่ละปี ดังนี้ปี 2541 10,000 ชั่วโมง
ปี 2542 25,000 ชั่วโมง
การคำนวณ
1. อัตราค่าเสื่อมราคาต่อชั่วโมง = 120,000-20,000
50,000
= 2 บาท
2. ค่าเสื่อมราคาแต่ละปี
ปี 2541 = 2×10,000
= 20,000 บาท
ปี 2542 = 2×25,000
= 50,000 บาท
การบันทึกบัญชี
ปี 2541
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 20,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 20,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
ปี 2542
ธ.ค 31 Dr. ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร 50,000
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องจักร 50,000
ปรับปรุงค่าเสื่อมราคา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: