วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบันชื่อ วัดราชประดิษฐาน ตั้งอยู่บริเว การแปล - วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบันชื่อ วัดราชประดิษฐาน ตั้งอยู่บริเว อังกฤษ วิธีการพูด

วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบั

วัดพะโคะ (เดิมชื่อ วัดหลวง) ปัจจุบันชื่อ วัดราชประดิษฐาน ตั้งอยู่บริเวณเขาพัทธสิงค์ หมู่ที่ 6 ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ อยู่ห่างจากสงขลา 48 กิโลเมตรเป็นวัดจำพรรษาของสมเด็จพะโคะหรือหลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลจืดซึ่งประชาชนให้ความนับถือเป็นอันมาก

เล่ากันว่าวันหนึ่งมีโจรสลัดแล่นเรือเลียบมาตามฝั่งเห็นสมเด็จพะโคะเดินอยู่มีลักษณะแปลกกว่าคนทั้งหลายจึงใคร่จะลองดีโจรสลัดจอดเรือและจับสมเด็จพะโคะไปเมื่อเรือแล่นมาได้สักครู่เกิดเหตุเรือแล่นต่อไปไม่ได้ต้องจอดอยู่หลายวันจนในที่สุดน้ำจืดหมดลงโจรสลัดเดือดร้อนสมเด็จพะโคะสงสารจึงเอาเท้าซ้ายแช่ลงไปในน้ำทะเลเกิดเป็นประกายโชติช่วงน้ำทะเลกลายเป็นน้ำจืดโจรสลัดเกิดความเลื่อมใสศรัทธากราบไหว้ขอขมาและนำสมเด็จพะโคะขึ้นฝั่งตั้งแต่นั้นมาประชาชนจึงพากันไปกราบไหว้บูชากันเป็นจำนวนมาก

ภายในวัดมีโบราณสถานสำคัญคือพระสุวรรณมาลิกเจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุซึ่งภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธไสยาสน์หรือพระโคตมะพระพุทธรูปปั้นสีทองปางปรินิพพานยาว 18 เมตรสูง 2.5 เมตรฝีมือช่างปั้นท้องถิ่นรอยพระพุทธบาทประดิษฐานอยู่ภายในมณฑปยอดเขา ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าเป็นรอยพระบาทของสมเด็จพระราชมุนีสามีรามคุณูปมาจารย์ หรือหลวงพ่อทวดนั่นเอง

รูปจำลองและอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชมุนีสามีรามประดิษฐานอยู่ในมณฑปบนยอดเขาโดยวางคู่กับรอยพระพุทธบาทเพื่อให้เหล่าพุทธศาสนิกชนได้เข้ามานมัสการโดยสะดวก

เดิมวัดนี้ปรากฏว่าพระชินเสนเป็นผู้สร้างราว พ.ศ.500 ชื่jอว่าวัดพระราชประดิษฐานฝังวิสุงคามสีมา พ.ศ.840 พระยาธรรมรังคัลเจ้าเมืองพัทลุง (สทิงคามสีมา) เป็นศาสนูปถัมภ์สร้างถาวรวัตถุหลายอย่างเพราะเห็นความสำคัญของวัดเขาพระพุทธบาท หรือวัดพระราชประดิษฐานครั้นต่อมาระหว่าง พ.ศ.2091-2111 พระยาดำธำรงกษัตริย์(บางแห่งกล่าวว่าพระยาธรรมรังคัล) ได้นิมนต์พระมหาอโนมทัสสีพระณไสยมุยและพระธรรมกาวาให้ไปเอากระบวนพระมหาธาตุเมืองลังกาและมาสร้างเจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุสูงสิบห้าวาทำพระวิหารธรรมศาลาทำอุโบสถ สร้างกำแพงสูงหกศอกระหว่างเขตสังฆาวาสที่พักสงฆ์อาศัยส่วนลดต่ำทางทิศตะวันตกของพื้นที่วัดส่วนที่ เป็นเนินสูงราบเป็นชั้น ๆ พื้นที่วัดทางทิศตะวันออกเป็นพุทธาวาสสถานที่ปลูกสร้างปูชนียวัตถุโบราณสถานเช่นพระวิหารพระพุทธไสยาสน์พระเจดีย์อุโบสถธรรมศาลาเป็นต้นและสร้างพระพุทธไสยาสน์ ชื่อว่าพระพุทธโคตรมะตามความนิยมของชาวบ้านเรียกชื่อวัดตามชื่อพระโคตรมะ ชื่อวัดพระราชประดิษฐานเดิมไม่นิยมใช้เรียกกันครั้นต่อมาวัดพระโคตะมะเรียกเพี้ยนเป็นวัดพะโคะในกาลครั้งนั้นกษัตริย์หัวเมืองพัทลุง (สทิงพระ) และคณะสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ทำฎีกาเข้าไปยังกรุงศรีอยุทธยาขอทำกัลปนาต่อพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่กัลปนาแก่วัดวาอารามต่าง ๆ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Temple, PA (formerly named WAT Luang) The present name Temple South enshrined He, Singapore is located at relative humidity. Moo 6, sathing Phra, Amphoe Chumphon is located 48 km away from Songkhla is Temple Ko Pa King or fresh waters of Luang Phor thuat pedal which regards reality.One day that there are pirates, sailing along the coast, see the King walking Ko Pa looks strange than many people will therefore try to pirate good mooring and capture King Ko Pa when the boat has an incident a few minutes does following the boats parked for several days, until finally all fresh water down the boiling hot pirate King Ko Pa took pity left foot soaking into the water the sea sparkling brilliance occurs, sea water, fresh water becomes a pirate born piety and apology would bring King Ko Pa ashore since then went public worship together a lot.Inside the temple, there is the ancient Phra Si Rattana kachedi, Malik, Syed, which contains relics of the Buddha or Buddha reclining Buddha statue, tama, Kona gold, length 18 meters high and death 2.5 Pang m artisans fabricate local footprint is enshrined within the designed peak, which locals believe that Shiva is the King of the Kingdom of the Muni utilities or spoken to her husband, Rama Goku came to Luang Phor thuat celebrities.Images and her husband the King monument is located in the Kingdom of the Muni RAM designed on top of the Hill by the pair with a footprint so that these Buddhist worship came by.เดิมวัดนี้ปรากฏว่าพระชินเสนเป็นผู้สร้างราว พ.ศ.500 ชื่jอว่าวัดพระราชประดิษฐานฝังวิสุงคามสีมา พ.ศ.840 พระยาธรรมรังคัลเจ้าเมืองพัทลุง (สทิงคามสีมา) เป็นศาสนูปถัมภ์สร้างถาวรวัตถุหลายอย่างเพราะเห็นความสำคัญของวัดเขาพระพุทธบาท หรือวัดพระราชประดิษฐานครั้นต่อมาระหว่าง พ.ศ.2091-2111 พระยาดำธำรงกษัตริย์(บางแห่งกล่าวว่าพระยาธรรมรังคัล) ได้นิมนต์พระมหาอโนมทัสสีพระณไสยมุยและพระธรรมกาวาให้ไปเอากระบวนพระมหาธาตุเมืองลังกาและมาสร้างเจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุสูงสิบห้าวาทำพระวิหารธรรมศาลาทำอุโบสถ สร้างกำแพงสูงหกศอกระหว่างเขตสังฆาวาสที่พักสงฆ์อาศัยส่วนลดต่ำทางทิศตะวันตกของพื้นที่วัดส่วนที่ เป็นเนินสูงราบเป็นชั้น ๆ พื้นที่วัดทางทิศตะวันออกเป็นพุทธาวาสสถานที่ปลูกสร้างปูชนียวัตถุโบราณสถานเช่นพระวิหารพระพุทธไสยาสน์พระเจดีย์อุโบสถธรรมศาลาเป็นต้นและสร้างพระพุทธไสยาสน์ ชื่อว่าพระพุทธโคตรมะตามความนิยมของชาวบ้านเรียกชื่อวัดตามชื่อพระโคตรมะ ชื่อวัดพระราชประดิษฐานเดิมไม่นิยมใช้เรียกกันครั้นต่อมาวัดพระโคตะมะเรียกเพี้ยนเป็นวัดพะโคะในกาลครั้งนั้นกษัตริย์หัวเมืองพัทลุง (สทิงพระ) และคณะสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ทำฎีกาเข้าไปยังกรุงศรีอยุทธยาขอทำกัลปนาต่อพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่กัลปนาแก่วัดวาอารามต่าง ๆ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: