จากความเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสื่อสารของโลกที่มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดใน การแปล - จากความเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสื่อสารของโลกที่มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดใน อังกฤษ วิธีการพูด

จากความเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสื่อสารข

จากความเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสื่อสารของโลกที่มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดในหลายปีที่ผ่านมา พบว่า “The Nexus of Forces” ของ Gartner เป็นกระแสที่มาแรงและกำลังได้รับความสนใจจากทั่วโลก โดย S-M-C-I ย่อมาจาก Social–Mobile–Cloud–Information อุบัติการณ์การมาบรรจบกัน (Convergence) ของกระแสความนิยมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น Facebook และ Twitter ร่วมกับการใช้สมาร์ทโฟน ตลอดจนความนิยมในการดาวน์โหลด “Mobile App” ในการติดต่อกันในลักษณะ Social Network เช่น LINE หรือ WhatsApp ตลอดจนการใช้งานระบบ Cloud ในการจัดเก็บข้อมูลทั้งส่วนตัวและข้อมูลขององค์กร เช่น การใช้ Free eMail: Hotmail, Gmail รวมถึงการใช้ Cloud–based Application ยอดนิยมต่างๆ เช่น iCloud และ Dropbox เป็นต้น

นโยบาย Digital Economy จึงมีความจำเป็นในการเตรียมตัวในระดับประเทศกับการมาถึงของยุค S-M-I-C ดังกล่าว เพื่อปรับโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลให้รองรับการมาถึงของยุค S-M-I-C ดังกล่าว ซึ่งในอนาคตอันใกล้ยุคแห่ง IoT (Internet of Things) กำลังเข้ามามีบทบาทกับเศรษฐกิจและสังคมทั่วโลก หลายค่ายได้ทำนายไว้ล่วงหน้าว่ามีจำนวนอุปกรณ์ที่ออนไลน์กับอินเทอร์เน็ตไม่ต่ำกว่า 50,000 ล้านอุปกรณ์ ภายในปี ค.ศ. 2020 ซึ่งรัฐควรเข้ามามีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนเอกชนในรูปแบบ Public-Private Partnership (PPP) เพื่อให้เอกชนเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในโลกที่นับวันจะแคบลงเรื่อยๆ

นโยบาย Digital Economy ควรมีเป้าหมายในระดับประเทศที่ชัดเจน ได้แก่ การเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ซึ่ง GDP ที่จะเพิ่มได้นั้น ไม่ได้เกิดจากที่รัฐเป็นผู้ให้บริการ แต่รัฐต้องเป็นผู้กำหนดนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกชนเป็นผู้สร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าและบริการ (Product and Service) ที่อยู่บนระบบเศรษฐกิจดิจิทัลดังกล่าว ดังนั้น นโยบาย Digital Economy จึงมีความจำเป็นและมีความสำคัญอย่างยิ่งยวดที่จะต้องคิดและเขียนออกมาให้ได้ตรงตามเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การเพิ่ม GDP ให้กับประเทศไทย และการทำให้เกิดความยั่งยืน (Sustainability) ในระยะยาว

2. ประชาชนจะได้ประโยชน์อะไรจากนโยบายดังกล่าว?

หากนโยบายดังกล่าวถูกเขียนขึ้นได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของรัฐที่ต้องการเพิ่ม GDP ของประเทศและถูกเขียนขึ้นอย่างมีธรรมาภิบาล เราจะได้เห็นการเติบโตอันแข็งแกร่งของภาคเอกชนมากขึ้น ยกตัวอย่าง ความสำเร็จของประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งมีบริษัทซัมซุงและบริษัทแอลจีเป็นตัวอย่างที่รัฐสนับสนุนส่งเสริมเอกชน ทำให้เศรษฐกิจเกาหลีใต้ในหลายปีที่ผ่านมาเติบโตอย่างต่อเนื่อง และประชาชนเกาหลีใต้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการได้รับค่าตอบแทนในการทำงานที่เพิ่มขึ้น จากการเติบโตอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจเกาหลีใต้ในหลายปีที่ผ่านมา

จากนิยามและแนวคิดเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 5 หลักการ ในหลักการข้อที่ 1 คือ ภาคเอกชนจะต้องเป็นผู้นำการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยมีรัฐเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) และส่งเสริมสนับสนุน (Promoter) โดยการสร้างแรงจูงใจอย่างเป็นระบบ และปรับปรุงประสิทธิภาพ กระบวนการทำงานของภาครัฐด้วยดิจิทัล ให้โปร่งใส รวดเร็ว และลดคอร์รัปชันได้

3. อุตสาหกรรมไอซีทีมีส่วนผลักดันแนวนโยบาย Digital Econnomy ให้เป็นจริงได้อย่างไร?

อุตสาหกรรมไอซีทีที่ขับเคลื่อนด้วยภาคเอกชนในทุกประเทศทั่วโลก เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของ GDP ในระดับประเทศ อุตสาหกรรมไอซีทีจะมีส่วนร่วมผลักดันแนวนโยบาย Digital Economy ให้เป็นจริงได้โดยอาศัยความร่วมมือและความเข้าใจจากภาคเอกชน และรัฐต้องมีการสนับสนุนอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และจูงใจโดยมี Incentive ให้กับภาคเอกชนที่มีศักยภาพในการพัฒนาให้แข่งขันได้ในอนาคต ตลอดจนรัฐเองต้องไม่ทำตัวเป็นคู่แข่งเอกชนในการหารายได้ ค้ากำไร ให้บริการซ้ำซ้อนกับกการบริการของภาคเอกชน โดยที่ภาคเอกชนทำได้ดีอยู่แล้ว แต่รัฐควรเล่นบทเป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนเอกชน เพื่อให้ภาพรวม GDP ของประเทศไทยมีอัตราที่เพิ่มขึ้นจากความแข็งแกร่งของภาคเอกชน มีศักยภาพในการแข่งขันกับนานาอารยประเทศในยุคโลกาภิวัตน์เช่นนี้ รัฐจึงจำเป็นต้องมีบทบาทร่วมกับเอกชนในรูปแบบ PPP ดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น

4. บริษัทหรือองค์กรของท่านมีการเตรียมความพร้อมรองรับนโยบาย Digital Economy หรือไม่ อย่างไร?

จากนิยามและแนวคิดเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของกระทรวง ICT ในแนวคิดที่ 3 กล่าวไว้ว่า ต้องมีการกำหนดนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กำหนดแนวทางการพัฒนาประเทศบนพื้นฐานของการพัฒนาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกันอย่างมีเอกภาพ ที่ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทุกภาคส่วน ในการขับเคลื่อนให้เกิดสัมฤทธิผล

จะเห็นได้ว่า “ความร่วมมือร่วมใจอย่างเป็นเอกภาพ” ระหว่างรัฐและเอกชนมีแรงจูงใจในการเตรียมความพร้อมรองรับนโยบาย Digital Economy จึงเป็นเรื่องสำคัญที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การกำหนดนโยบาย Digital Economy ให้มีวัตถุประสงค์เป้าหมายที่ชัดเจน โปร่งใส จะทำให้เกิดความกระจ่างและความเข้าใจในภาคเอกชน ทำให้ภาคเอกชนเห็นถึงประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับ และเห็นภาพรวมในการพัฒนาของประเทศ จะทำให้มีการเตรียมความพร้อมของภาคเอกชนเกิดขึ้นด้วย “ความเต็มใจและเต็มที่” โดยภาคเอกชนสามารถที่จะเห็นประโยชน์อย่างชัดเจน (Benefit realization) ตามหลักการกำกับดูแลที่ดีด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ GEIT และ COBIT 5 (governance objectives) ซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือ 1) Benefit realisation 2) Risk optimisation 3) Resource optimisation
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The changes to the world's communications technology, the development of leaps in the past year. It was found that "The Nexus of Gartner's Forces" were coming and being interested in the world by the S-M-C-I Mobile Social – stands – Cloud – Information incidence of converge (Convergence) of popularity using social networks (Social Media) such as Facebook and Twitter in conjunction with the use of smartphones, as well as the popular Mobile App "Download" in the Social Network, such as in the consecutive LINE or system, as well as use WhatsApp Cloud storage for personal data and the data of the Organization, such as the use of Free eMail: Hotmail, Gmail, including the use of Cloud-based Application. ICloud and popular, such as Dropbox, etc.Digital Economy policy, therefore it is necessary to prepare for the arrival of country level with such S-M-I-C to the age of the infrastructure to support digital's S-M-I-C era, it came to that in the near future era IoT (Internet of Things) are added to the economic and social role in the world. Many camps have predicted beforehand that there are a number of devices that are online on the Internet no less than 50000 million devices in 2020, which the State should come into play a role in promoting and supporting the private sector in the Partnership (PPP) model Public-Private, so that the private sector added to the competitiveness of countries in the world that will narrow gradually.Digital Economy policy, there should be a clear national goal: increasing the gross domestic product (GDP), GDP will increase. The State is not caused by the service provider, but the Government must be to promote and support policy makers, private sector, is the author of the added value of goods and services (Product and Service) on the digital economy Digital Economy policy, therefore, it is necessary and it is important to think and write very well coming out, meet these goals are: to increase GDP, to Thailand and make a sustainable (Sustainability) in the long term.2. ประชาชนจะได้ประโยชน์อะไรจากนโยบายดังกล่าว?หากนโยบายดังกล่าวถูกเขียนขึ้นได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของรัฐที่ต้องการเพิ่ม GDP ของประเทศและถูกเขียนขึ้นอย่างมีธรรมาภิบาล เราจะได้เห็นการเติบโตอันแข็งแกร่งของภาคเอกชนมากขึ้น ยกตัวอย่าง ความสำเร็จของประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งมีบริษัทซัมซุงและบริษัทแอลจีเป็นตัวอย่างที่รัฐสนับสนุนส่งเสริมเอกชน ทำให้เศรษฐกิจเกาหลีใต้ในหลายปีที่ผ่านมาเติบโตอย่างต่อเนื่อง และประชาชนเกาหลีใต้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากการได้รับค่าตอบแทนในการทำงานที่เพิ่มขึ้น จากการเติบโตอย่างต่อเนื่องของเศรษฐกิจเกาหลีใต้ในหลายปีที่ผ่านมาจากนิยามและแนวคิดเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 5 หลักการ ในหลักการข้อที่ 1 คือ ภาคเอกชนจะต้องเป็นผู้นำการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยมีรัฐเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) และส่งเสริมสนับสนุน (Promoter) โดยการสร้างแรงจูงใจอย่างเป็นระบบ และปรับปรุงประสิทธิภาพ กระบวนการทำงานของภาครัฐด้วยดิจิทัล ให้โปร่งใส รวดเร็ว และลดคอร์รัปชันได้3. อุตสาหกรรมไอซีทีมีส่วนผลักดันแนวนโยบาย Digital Econnomy ให้เป็นจริงได้อย่างไร?อุตสาหกรรมไอซีทีที่ขับเคลื่อนด้วยภาคเอกชนในทุกประเทศทั่วโลก เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของ GDP ในระดับประเทศ อุตสาหกรรมไอซีทีจะมีส่วนร่วมผลักดันแนวนโยบาย Digital Economy ให้เป็นจริงได้โดยอาศัยความร่วมมือและความเข้าใจจากภาคเอกชน และรัฐต้องมีการสนับสนุนอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และจูงใจโดยมี Incentive ให้กับภาคเอกชนที่มีศักยภาพในการพัฒนาให้แข่งขันได้ในอนาคต ตลอดจนรัฐเองต้องไม่ทำตัวเป็นคู่แข่งเอกชนในการหารายได้ ค้ากำไร ให้บริการซ้ำซ้อนกับกการบริการของภาคเอกชน โดยที่ภาคเอกชนทำได้ดีอยู่แล้ว แต่รัฐควรเล่นบทเป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนเอกชน เพื่อให้ภาพรวม GDP ของประเทศไทยมีอัตราที่เพิ่มขึ้นจากความแข็งแกร่งของภาคเอกชน มีศักยภาพในการแข่งขันกับนานาอารยประเทศในยุคโลกาภิวัตน์เช่นนี้ รัฐจึงจำเป็นต้องมีบทบาทร่วมกับเอกชนในรูปแบบ PPP ดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น4. บริษัทหรือองค์กรของท่านมีการเตรียมความพร้อมรองรับนโยบาย Digital Economy หรือไม่ อย่างไร?จากนิยามและแนวคิดเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของกระทรวง ICT ในแนวคิดที่ 3 กล่าวไว้ว่า ต้องมีการกำหนดนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กำหนดแนวทางการพัฒนาประเทศบนพื้นฐานของการพัฒนาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกันอย่างมีเอกภาพ ที่ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ทุกภาคส่วน ในการขับเคลื่อนให้เกิดสัมฤทธิผลจะเห็นได้ว่า “ความร่วมมือร่วมใจอย่างเป็นเอกภาพ” ระหว่างรัฐและเอกชนมีแรงจูงใจในการเตรียมความพร้อมรองรับนโยบาย Digital Economy จึงเป็นเรื่องสำคัญที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การกำหนดนโยบาย Digital Economy ให้มีวัตถุประสงค์เป้าหมายที่ชัดเจน โปร่งใส จะทำให้เกิดความกระจ่างและความเข้าใจในภาคเอกชน ทำให้ภาคเอกชนเห็นถึงประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับ และเห็นภาพรวมในการพัฒนาของประเทศ จะทำให้มีการเตรียมความพร้อมของภาคเอกชนเกิดขึ้นด้วย “ความเต็มใจและเต็มที่” โดยภาคเอกชนสามารถที่จะเห็นประโยชน์อย่างชัดเจน (Benefit realization) ตามหลักการกำกับดูแลที่ดีด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ GEIT และ COBIT 5 (governance objectives) ซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือ 1) Benefit realisation 2) Risk optimisation 3) Resource optimisation
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
From the changes of the world with the development of communication technology leaps in the past several years, it was found that "The Nexus of Forces" of Gartner. A current source strength and is receiving attention from all over the world by S-M-C-I stands Social - - - Mobile Cloud Information.(Convergence). Wave of popular social network (Social Media) such as Facebook Twitter and together with the use of smartphones as well as popular in the download. "Mobile App" in consecutive appearance in the Social Network such as LINE or WhatsApp as well as the system.In data storage, both personal and corporate information, such as the use of Free eMail:Hotmail Gmail, include the use of Cloud - based Application popular activities, such as iCloud Dropbox etc. and

.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: