ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทย
นับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลได้แพร่หลายในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา กีฬาสากลในประเทศไทยได้รับการส่งเสริมและเป็นที่สนใจของประชาชนอย่างกว้างขวางควบคู่กับกีฬาพื้นบ้านหรือกีฬาประเพณีมาโดยตลอด ในการดำเนินการกีฬาในสมัยนั้น ได้รับพระราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการส่งเสริมกีฬาเพื่อเป็นแนวทางการสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดจนการรับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยเหลือการกีฬาในประเทศ เป็นต้น ทั้งนี้โดยมีกระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบเป็นผู้ดำเนินการ
กิจการกีฬาในประเทศไทยได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง กีฬาชนิดต่างๆได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลาย การเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาระหว่างประเทศในขณะนั้น เป็นการดำเนินงานของสมาคมกีฬา ยังไม่มีหน่วยงานกีฬาของรัฐให้การสนับสนุนเช่นเดียวกับนานาประเทศ การเข้าแข่งขันของทีมกีฬาไทยจึงมักจะประสบปัญหาด้านงบประมาณและไม่บรรลุผลเท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้ บุคคลในวงการกีฬาของไทยในสมัยนั้น ประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สนใจในกีฬาและเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาต่างๆ และคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย อาทิ พระยาจินดารักษ์ ,หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ,นายกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา , นายโฉลก โกมารกุล ณ นคร, นายวิลาศ บุนนาค, นายสวัสดิ์ เลขยายนนท์ และนายกอง วิสุทธารมณ์ ได้มีความเห็นพ้องต้องกันว่า ประเทศไทยควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการกีฬาของประเทศในภาครัฐบาลขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อทำหน้าที่ด้านนโยบายของประเทศ ตลอดจนดูแลและประสานงานส่งเสริมกีฬาระดับประชาชน ให้ประชาชนได้เล่นกีฬาอย่างกว้างขวาง และมีโอกาสคัดเลือกนักกีฬาที่มีศักยภาพไปแข่งขันกับต่างประเทศ
ในปี 2507 ความพยายามที่จะก่อตั้งองค์การกีฬาระดับรัฐเป็นผลสำเร็จ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ.2496 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ.2507 ขึ้น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2507 (เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากกีฬาเป็นสิ่งสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการสร้างเสริมพลังกายและกำลังใจของบุคคลให้รู้จักตัดสินใจในทางที่ถูกที่ควร เป็นการเผยแพร่ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักแก่ชาวโลก และเป็นเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผูกพันทางมิตรภาพระหว่างประเทศ แต่ขณะนี้กีฬาของประเทศไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร จำเป็นต้องเร่งรีบส่งเสริมให้ทัดเทียมนานาประเทศ โดยสนับสนุนให้เกิดความสนใจและนิยมกีฬามากยิ่งขึ้น อีกประการหนึ่งคณะกรรมการเกี่ยวกับกีฬาต่าง ๆ ยังกระจัดกระจายกันอยู่ การดำเนินงานไม่สะดวกและรวดเร็วตามต้องการ สมควรต้องมีองค์การรับผิดชอบโดยเฉพาะขึ้น เพื่ออำนวยบริการแก่ประชาชน) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. ส่งเสริมกีฬา
2. ช่วยเหลือ แนะนำ และร่วมมือในการจัดและดำเนินการกีฬาสมัครเล่น
3. สำรวจ จัดสร้าง และบูรณะสถานที่สำหรับกีฬาสมัครเล่น
4. ติดต่อร่วมมือกับองค์การหรือสมาคมกีฬาสมัครเล่น ทั้งในและนอกราชอาณาจักร
5. ประกอบธุรกิจอื่น ๆ อันเกี่ยวแก่หรือเพื่อประโยชน์ของกีฬาสมัครเล่น
6. เสนอแนะแก่หน่วยราชการ หรือองค์การของรัฐบาลในเรื่องกีฬาเพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือชักจูงเร่งเร้าให้เกิดความนิยมในกีฬาอย่างกว้างขวาง
7. เสาะแสวงหาและรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ จากหน่วยราชการองค์การของรัฐบาลหรือเอกชน เพื่อประโยชน์ในการจัดทำสถิติเกี่ยวแก่กีฬ่าสมัครเล่น
เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ให้ อ.ส.ก.ท.มีอำนาจรวมถึง การสอดส่องและควบคุมการดำเนินกิจการกีฬาสมัครเล่น เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่นกีฬา หรือเกิดความเสียหาย หรือเป็นภัยแก่ประเทศชาติด้วย
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี บริหารงานโดยคณะกรรมการองต์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย ซึ่งคณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้ง มีผู้อำนวยการ อ.ส.ก.ท.ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งเป็นกรรมการเพื่อดำเนินกิจการของ อ.ส.ก.ท. และมีหลวงสุขุมนัยประดิษฐ เลขาธิการสำนักงาน ก.พ. ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาหลายแห่ง ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) คนแรก
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยในยุคแรกเริ่ม ยังไม่มีสำนักงานหรือที่ทำการของตนเอง ได้อาศัยสระว่ายน้ำโอลิมปิคของกรมพลศึกษาในบริเวณสถานกีฬาแห่งชาติเป็นที่ทำการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2507 – 9 มีนาคม 2511 เป็นเวลานานถึง 4 ปี ก่อนจะย้ายไปอยู่ที่สำนักงานแห่งใหม่ที่สนามกีฬาหัวหมาก
แม้ว่าองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย จะยังไม่มีอาคารที่ทำการถาวร แต่ไม่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติภารกิจเพื่อสนองนโยบายของรัฐในด้านการกีฬา โดยได้รับผิดชอบกิจการกีฬาของชาติตามขอบเขตและวัตถุประสงค์ ทั้งระดับในประเทศและระหว่างประเทศ ในส่วนกีฬาระหว่างประเทศภารกิจแรกที่ อ.ส.ก.ท.ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลในสมัยนั้น คือ เป็นสำนักเลขาธิการคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในปี 2509
ภายหลังการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ในปี 2509 สิ้นสุดลง คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2510 ได้รับทราบสรุปรายงานการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 และมีมติมอบสถานกีฬาและที่ดินในบริเวณสถานกีฬาหัวหมากทั้งหมด ซึ่งมีพื้นที่รวม 265.452 ไร่ ให้ อ.ส.ก.ท.เป็นผู้ดูแลรักษา และเมื่อได้รับมอบหมายให้ดูแลสถานกีฬาดังกล่าว อ.ส.ก.ท.ยังต้องจัดซื้อที่ดินที่มีปัญหาติดค้างมาจากการเวณคืนที่ 1 แปลง ซึ่งเป็นพื้นที่ดินที่อยู่ในเขตกีฬาด้านหน้า มีเนื้อที่จำนวน 4 ไร่ 96 ตารางวา (ด้วยเงินงบประมาณประจำปี 2511 จำนวน 280,000 บาท) สถานกีฬาหัวหมากจึงมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นเป็นจำนวน ประมาณ 270 ไร่ ตั้งแต่นั้นมา
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) จึงได้ย้ายที่ทำการชั่วคราวจากอาคารสระว่ายน้ำ โอลิมปิคในกรีฑาสถานแห่งชาติ มาตั้งสำนักงานที่อินดอร์สเตเดี้ยม สนามกีฬาหัวหมาก ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2511 และเนื่องจากมีความจ
泰国国家体育史。因为在这个国家,泰国朱拉隆功国王统治其广泛全球体育赛事。国王拉玛 v,等等。全球体育在国家,泰国一直在推动公众利益,和配合运动或整个体育民间传统的广泛认可。在体育行为在那些接受他的政府对促进体育作为一种方式,以支持体育赛事,以及接收来自海外的专家管理来帮助这项运动中的国家,等等。财务部,教育部目前是 thamkan 或被授予的单位。กิจการกีฬาในประเทศไทยได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง กีฬาชนิดต่างๆได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลาย การเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาระหว่างประเทศในขณะนั้น เป็นการดำเนินงานของสมาคมกีฬา ยังไม่มีหน่วยงานกีฬาของรัฐให้การสนับสนุนเช่นเดียวกับนานาประเทศ การเข้าแข่งขันของทีมกีฬาไทยจึงมักจะประสบปัญหาด้านงบประมาณและไม่บรรลุผลเท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้ บุคคลในวงการกีฬาของไทยในสมัยนั้น ประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สนใจในกีฬาและเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาต่างๆ และคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย อาทิ พระยาจินดารักษ์ ,หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ,นายกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา , นายโฉลก โกมารกุล ณ นคร, นายวิลาศ บุนนาค, นายสวัสดิ์ เลขยายนนท์ และนายกอง วิสุทธารมณ์ ได้มีความเห็นพ้องต้องกันว่า ประเทศไทยควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการกีฬาของประเทศในภาครัฐบาลขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อทำหน้าที่ด้านนโยบายของประเทศ ตลอดจนดูแลและประสานงานส่งเสริมกีฬาระดับประชาชน ให้ประชาชนได้เล่นกีฬาอย่างกว้างขวาง และมีโอกาสคัดเลือกนักกีฬาที่มีศักยภาพไปแข่งขันกับต่างประเทศในปี 2507 ความพยายามที่จะก่อตั้งองค์การกีฬาระดับรัฐเป็นผลสำเร็จ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ.2496 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ.2507 ขึ้น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2507 (เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากกีฬาเป็นสิ่งสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการสร้างเสริมพลังกายและกำลังใจของบุคคลให้รู้จักตัดสินใจในทางที่ถูกที่ควร เป็นการเผยแพร่ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักแก่ชาวโลก และเป็นเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผูกพันทางมิตรภาพระหว่างประเทศ แต่ขณะนี้กีฬาของประเทศไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร จำเป็นต้องเร่งรีบส่งเสริมให้ทัดเทียมนานาประเทศ โดยสนับสนุนให้เกิดความสนใจและนิยมกีฬามากยิ่งขึ้น อีกประการหนึ่งคณะกรรมการเกี่ยวกับกีฬาต่าง ๆ ยังกระจัดกระจายกันอยู่ การดำเนินงานไม่สะดวกและรวดเร็วตามต้องการ สมควรต้องมีองค์การรับผิดชอบโดยเฉพาะขึ้น เพื่ออำนวยบริการแก่ประชาชน) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้1.促进这项运动。2.援助和合作,组织和执行一项业余运动。3.探索重建和恢复业余体育。4.与组织或协会的业余体育,在和在王国境外联系。5.其他业务为好,或为业余运动。6.向提出建议的政府或政府机构的运动,到纠正或指使激发引起的广泛普及的运动。7.追求和收集证据从政府或私人组织的政府。为了你业余的 la 与相关的统计信息。若要继续为实现这些目标,这是毕业的要求,包括法规遵从性的一部分和控制闪耀经营业余体育为了防止危险运动或损害或危险的国家。泰国国家体育促进组织 (SV g 星期六) 是国有企业由总理办公室委员会民族体育促进 karong 泰语。内阁是任命一名主任。A.毕业委员会任命一个委员会,以执行行为 a.a.资本和部分就是坐在暗示醇厚的 disot 司办公室的 2 月,创始人为运动而设计。获委任为董事体育促进组织的泰国泰国 (a.坐的 g 套件)。第一批。早期泰国体育促进组织有办事处也不让你自己。民族体育场所体育部依托我们奥运会的游泳池,是暂时自 1964 年 10 月 1 日 — — 1968 年 3 月 9 日,只要在搬到一个新的办公室,在季华球场之前的四年。虽然泰国全国体育促进组织仍然,有没有固定的相位,但不是妨碍特派团满足国策在体育领域的体育事务职责范围内的国家和地方和国际各级的目标。在国际体育活动的第一任务,因此 g 分配给它由董事在董事会秘书长办公厅政府管理亚运会体育竞赛 5 倍作为东道主泰国 2509 年 (1966 年)ภายหลังการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ในปี 2509 สิ้นสุดลง คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2510 ได้รับทราบสรุปรายงานการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 และมีมติมอบสถานกีฬาและที่ดินในบริเวณสถานกีฬาหัวหมากทั้งหมด ซึ่งมีพื้นที่รวม 265.452 ไร่ ให้ อ.ส.ก.ท.เป็นผู้ดูแลรักษา และเมื่อได้รับมอบหมายให้ดูแลสถานกีฬาดังกล่าว อ.ส.ก.ท.ยังต้องจัดซื้อที่ดินที่มีปัญหาติดค้างมาจากการเวณคืนที่ 1 แปลง ซึ่งเป็นพื้นที่ดินที่อยู่ในเขตกีฬาด้านหน้า มีเนื้อที่จำนวน 4 ไร่ 96 ตารางวา (ด้วยเงินงบประมาณประจำปี 2511 จำนวน 280,000 บาท) สถานกีฬาหัวหมากจึงมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นเป็นจำนวน ประมาณ 270 ไร่ ตั้งแต่นั้นมา泰国国家体育促进组织 (SV-g 坐)。它已被转移到临时建筑物泳池。奥林匹克国家体育场进来在华马克室内体育场体育场从 1968 年 3 月 10 日,办公区,因为这是一场闹剧。
การแปล กรุณารอสักครู่..
ประวัติการกีฬาแห่งประเทศไทย
นับตั้งแต่กิจกรรมกีฬาสากลได้แพร่หลายในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา กีฬาสากลในประเทศไทยได้รับการส่งเสริมและเป็นที่สนใจของประชาชนอย่างกว้างขวางควบคู่กับกีฬาพื้นบ้านหรือกีฬาประเพณีมาโดยตลอด ในการดำเนินการกีฬาในสมัยนั้น ได้รับพระราชกิจจานุเบกษาว่าด้วยการส่งเสริมกีฬาเพื่อเป็นแนวทางการสนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาตลอดจนการรับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยเหลือการกีฬาในประเทศ เป็นต้น ทั้งนี้โดยมีกระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบันเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบเป็นผู้ดำเนินการ
กิจการกีฬาในประเทศไทยได้ขยายตัวอย่างกว้างขวาง กีฬาชนิดต่างๆได้รับความนิยมจากประชาชนอย่างแพร่หลาย การเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาระหว่างประเทศในขณะนั้น เป็นการดำเนินงานของสมาคมกีฬา ยังไม่มีหน่วยงานกีฬาของรัฐให้การสนับสนุนเช่นเดียวกับนานาประเทศ การเข้าแข่งขันของทีมกีฬาไทยจึงมักจะประสบปัญหาด้านงบประมาณและไม่บรรลุผลเท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้ บุคคลในวงการกีฬาของไทยในสมัยนั้น ประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สนใจในกีฬาและเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาต่างๆ และคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทย อาทิ พระยาจินดารักษ์ ,หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ,นายกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา , นายโฉลก โกมารกุล ณ นคร, นายวิลาศ บุนนาค, นายสวัสดิ์ เลขยายนนท์ และนายกอง วิสุทธารมณ์ ได้มีความเห็นพ้องต้องกันว่า ประเทศไทยควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการกีฬาของประเทศในภาครัฐบาลขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อทำหน้าที่ด้านนโยบายของประเทศ ตลอดจนดูแลและประสานงานส่งเสริมกีฬาระดับประชาชน ให้ประชาชนได้เล่นกีฬาอย่างกว้างขวาง และมีโอกาสคัดเลือกนักกีฬาที่มีศักยภาพไปแข่งขันกับต่างประเทศ
ในปี 2507 ความพยายามที่จะก่อตั้งองค์การกีฬาระดับรัฐเป็นผลสำเร็จ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ.2496 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ.2507 ขึ้น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2507 (เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากกีฬาเป็นสิ่งสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการสร้างเสริมพลังกายและกำลังใจของบุคคลให้รู้จักตัดสินใจในทางที่ถูกที่ควร เป็นการเผยแพร่ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักแก่ชาวโลก และเป็นเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผูกพันทางมิตรภาพระหว่างประเทศ แต่ขณะนี้กีฬาของประเทศไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าที่ควร จำเป็นต้องเร่งรีบส่งเสริมให้ทัดเทียมนานาประเทศ โดยสนับสนุนให้เกิดความสนใจและนิยมกีฬามากยิ่งขึ้น อีกประการหนึ่งคณะกรรมการเกี่ยวกับกีฬาต่าง ๆ ยังกระจัดกระจายกันอยู่ การดำเนินงานไม่สะดวกและรวดเร็วตามต้องการ สมควรต้องมีองค์การรับผิดชอบโดยเฉพาะขึ้น เพื่ออำนวยบริการแก่ประชาชน) โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. ส่งเสริมกีฬา
2. ช่วยเหลือ แนะนำ และร่วมมือในการจัดและดำเนินการกีฬาสมัครเล่น
3. สำรวจ จัดสร้าง และบูรณะสถานที่สำหรับกีฬาสมัครเล่น
4. ติดต่อร่วมมือกับองค์การหรือสมาคมกีฬาสมัครเล่น ทั้งในและนอกราชอาณาจักร
5. ประกอบธุรกิจอื่น ๆ อันเกี่ยวแก่หรือเพื่อประโยชน์ของกีฬาสมัครเล่น
6. เสนอแนะแก่หน่วยราชการ หรือองค์การของรัฐบาลในเรื่องกีฬาเพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือชักจูงเร่งเร้าให้เกิดความนิยมในกีฬาอย่างกว้างขวาง
7. เสาะแสวงหาและรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ จากหน่วยราชการองค์การของรัฐบาลหรือเอกชน เพื่อประโยชน์ในการจัดทำสถิติเกี่ยวแก่กีฬ่าสมัครเล่น
เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ให้ อ.ส.ก.ท.มีอำนาจรวมถึง การสอดส่องและควบคุมการดำเนินกิจการกีฬาสมัครเล่น เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่นกีฬา หรือเกิดความเสียหาย หรือเป็นภัยแก่ประเทศชาติด้วย
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี บริหารงานโดยคณะกรรมการองต์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย ซึ่งคณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้ง มีผู้อำนวยการ อ.ส.ก.ท.ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งเป็นกรรมการเพื่อดำเนินกิจการของ อ.ส.ก.ท. และมีหลวงสุขุมนัยประดิษฐ เลขาธิการสำนักงาน ก.พ. ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมกีฬาหลายแห่ง ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) คนแรก
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทยในยุคแรกเริ่ม ยังไม่มีสำนักงานหรือที่ทำการของตนเอง ได้อาศัยสระว่ายน้ำโอลิมปิคของกรมพลศึกษาในบริเวณสถานกีฬาแห่งชาติเป็นที่ทำการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2507 – 9 มีนาคม 2511 เป็นเวลานานถึง 4 ปี ก่อนจะย้ายไปอยู่ที่สำนักงานแห่งใหม่ที่สนามกีฬาหัวหมาก
แม้ว่าองค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย จะยังไม่มีอาคารที่ทำการถาวร แต่ไม่เป็นอุปสรรคในการปฏิบัติภารกิจเพื่อสนองนโยบายของรัฐในด้านการกีฬา โดยได้รับผิดชอบกิจการกีฬาของชาติตามขอบเขตและวัตถุประสงค์ ทั้งระดับในประเทศและระหว่างประเทศ ในส่วนกีฬาระหว่างประเทศภารกิจแรกที่ อ.ส.ก.ท.ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลในสมัยนั้น คือ เป็นสำนักเลขาธิการคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในปี 2509
ภายหลังการแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ในปี 2509 สิ้นสุดลง คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2510 ได้รับทราบสรุปรายงานการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 และมีมติมอบสถานกีฬาและที่ดินในบริเวณสถานกีฬาหัวหมากทั้งหมด ซึ่งมีพื้นที่รวม 265.452 ไร่ ให้ อ.ส.ก.ท.เป็นผู้ดูแลรักษา และเมื่อได้รับมอบหมายให้ดูแลสถานกีฬาดังกล่าว อ.ส.ก.ท.ยังต้องจัดซื้อที่ดินที่มีปัญหาติดค้างมาจากการเวณคืนที่ 1 แปลง ซึ่งเป็นพื้นที่ดินที่อยู่ในเขตกีฬาด้านหน้า มีเนื้อที่จำนวน 4 ไร่ 96 ตารางวา (ด้วยเงินงบประมาณประจำปี 2511 จำนวน 280,000 บาท) สถานกีฬาหัวหมากจึงมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นเป็นจำนวน ประมาณ 270 ไร่ ตั้งแต่นั้นมา
องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) จึงได้ย้ายที่ทำการชั่วคราวจากอาคารสระว่ายน้ำ โอลิมปิคในกรีฑาสถานแห่งชาติ มาตั้งสำนักงานที่อินดอร์สเตเดี้ยม สนามกีฬาหัวหมาก ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2511 และเนื่องจากมีความจ
การแปล กรุณารอสักครู่..