สำหรับประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยสูงสุดได้มีขึ้นตั้งแต่สมัย การแปล - สำหรับประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยสูงสุดได้มีขึ้นตั้งแต่สมัย อังกฤษ วิธีการพูด

สำหรับประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื่องอำน

สำหรับประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยสูงสุดได้มีขึ้นตั้งแต่สมัยการปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 แต่ที่มาของอำนาจยังคงอยู่ที่พระมหากษัตริย์ จนกระทั่ง ร.ศ.130 แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนจึงเริ่มเกิดขึ้นจากความพยายามปฏิวัติรัฐบาลของพระมหากษัตริย์แต่ไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั่งอีกยี่สิบปีถัดมา แนวคิดดังกล่าวจึงได้บังเกิดเป็นรูปเป็นร่างชัดเจนขึ้นภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญใน พ.ศ.2475 ซึ่งได้ทำให้ที่มา หรือ แหล่งอ้างอิงอำนาจอธิปไตยสูงสุดในการปกครองประเทศได้เปลี่ยนแปลงจากพระมหากษัตริย์ลงไปสู่ปวงชนชาวไทยทุกคน ดังปรากฏในมาตราที่ 1 ของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พุทธศักราช 2475 ว่า “อำนาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย”

แต่ด้วยการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างกลุ่มทางการเมืองที่นิยมในระบอบเก่า กับกลุ่มที่นิยมประชาธิปไตยสมัยใหม่ของการเมืองไทยภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ก็ได้ทำให้แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนเกิดความคลุมเครือในสถานะความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของปวงชน เพราะรัฐธรรมนูญของไทยฉบับถัดมาทุกฉบับ (17 ฉบับ) ได้ดัดแปลงข้อความให้เป็นไปในลักษณะที่ว่า “อำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย...” จึงทำให้เกิดแนวคิดการตีความว่า ประชาชนแม้จะเป็นแหล่งที่มาของอำนาจสูงสุด แต่ก็ได้ยกอำนาจสูงสุดนั้นให้แก่องค์พระมหากษัตริย์เพื่อทรงใช้อำนาจนั้นผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล เพราะหากอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนแล้ว พระมหากษัตริย์ก็ไม่อาจใช้อำนาจนั้นโดยที่ประชาชนมิได้ถวายให้ได้ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้สถานะความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของปวงชนดูจืดจางลง จากการเปลี่ยนแปลงเรื่องอำนาจอธิปไตย “เป็นของ” หรือ “มาจาก” ประชาชนกันแน่ ซึ่งความคลุมเครือนี้สุดท้ายได้นำไปสู่กระแสการถวายคืนพระราชอำนาจ ในขบวนการต่อสู้ทางการเมืองไทย ซึ่งนับเป็นสิ่งที่ขัดกับหลักการอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนเป็นอย่างยิ่ง เพราะการที่ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นสิทธิที่ไม่มีใครสามารถพรากเอาไปได้ (unalienable rights) ดังนั้นพวกเขาจึงไม่สามารถคืนสิทธินั้นให้แก่ผู้ใดได้เลยนั่นเอง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
For Thailand. Maximum sovereignty concept has made since the reform of his Majesty King Rama v, but the head of power to remain King until RS 130. Concept of sovereignty, thus starting the public arising from the attempt to revolt against the Government of the King, but did not succeed until another twenty years. The idea of this being a figure is clearer after the change of regime from absolute monarchy regime as the King under the Constitution which came at 2475 (1932) or reference source for sovereignty in the governance of the country has changed, from the King down to the Thailand people everyone. It appears in section 1 of the Act, the Constitution of the land, Siam (temporary) Buddhist 2475 "maximum power of that country belongs to the people, all of you."แต่ด้วยการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างกลุ่มทางการเมืองที่นิยมในระบอบเก่า กับกลุ่มที่นิยมประชาธิปไตยสมัยใหม่ของการเมืองไทยภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ก็ได้ทำให้แนวคิดเรื่องอำนาจอธิปไตยของปวงชนเกิดความคลุมเครือในสถานะความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของปวงชน เพราะรัฐธรรมนูญของไทยฉบับถัดมาทุกฉบับ (17 ฉบับ) ได้ดัดแปลงข้อความให้เป็นไปในลักษณะที่ว่า “อำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย...” จึงทำให้เกิดแนวคิดการตีความว่า ประชาชนแม้จะเป็นแหล่งที่มาของอำนาจสูงสุด แต่ก็ได้ยกอำนาจสูงสุดนั้นให้แก่องค์พระมหากษัตริย์เพื่อทรงใช้อำนาจนั้นผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล เพราะหากอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนแล้ว พระมหากษัตริย์ก็ไม่อาจใช้อำนาจนั้นโดยที่ประชาชนมิได้ถวายให้ได้ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้สถานะความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยของปวงชนดูจืดจางลง จากการเปลี่ยนแปลงเรื่องอำนาจอธิปไตย “เป็นของ” หรือ “มาจาก” ประชาชนกันแน่ ซึ่งความคลุมเครือนี้สุดท้ายได้นำไปสู่กระแสการถวายคืนพระราชอำนาจ ในขบวนการต่อสู้ทางการเมืองไทย ซึ่งนับเป็นสิ่งที่ขัดกับหลักการอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนเป็นอย่างยิ่ง เพราะการที่ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นสิทธิที่ไม่มีใครสามารถพรากเอาไปได้ (unalienable rights) ดังนั้นพวกเขาจึงไม่สามารถคืนสิทธินั้นให้แก่ผู้ใดได้เลยนั่นเอง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
For Thailand The concept of sovereignty has held up since the reform of King Rama V and King Rama 5, but the source of power remains the crown until the Rs 130 concept of the sovereignty of the people. Thus began the effort revolutionary government of the monarch, but without success. Until twenty years later This has created a figurative clear up after the change of government from an absolute monarchy to a constitutional monarchy, the king in 2475, which has made ​​the source or sources of sovereignty in ruling the country. The change from the king down to the people of Thailand to anyone. As shown in Section 1 of the Constitution Act governing the Kingdom (temporary) Act 2475 that "the supremacy of the country belongs to all people" but by the political struggle between political groups in the old regime. The popular group of modern democratic politics with Thailand after the change of government in 2475, also made ​​the concept of the sovereignty of the people was ambiguity in the ownership status of sovereignty of the people. The next edition of the Constitution of Thailand each edition (17th edition) has modified the text to look into the matter. "Sovereignty comes from the people of Thailand ...", thus interpreting that concept. Despite the public as a source of power. But it raises the maximum power that the king had to use that power through the Cabinet, Parliament and the courts because sovereignty belongs to the people then. King could not use that power by the people nor offer them. For this reason, the ownership status of sovereignty of the people watching fade. The change of sovereignty "of" or "derived from" the public, anyway. This ambiguity, which has led to the consecration last night prerogative. Political movements in Thailand Which is contrary to the principle of sovereignty of the people is very important. Because of that public ownership of sovereignty, a right that no one can take it away (unalienable rights), so they can not reinstate it to anyone do that.

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
For Thailand. The concept of sovereignty highest has since reform the rule of King Rama V Rama 5 but sources of power remain king. Until, RSThe concept of sovereignty of the people 130 began to arise from the revolutionary government efforts of monarchs, but did not succeed. Until twenty years later.B.Prof.2475 which makes source or sources of sovereignty sovereignty changed from King down to the Thai people. As shown in Section 1 act of constitution rule the land of Siam (temporary).2475. "The highest power of the country belongs to the people"
.

but with the political struggle between political groups popular in the old regime. With the popular modern democracy of Thai politics after the change of government in 1992.2475 can make the concept of sovereignty of the people's ambiguity in state ownership power the sovereignty of the people. Because the constitution of later every issue (17 version) adapted the text to go in a way that..."Thus, causing the concept interpretation. The people even as a source of absolute power. But raise the maximum power to the old king has used that power to link through the cabinet, Parliament, and the court.The monarch could not use the power that the people did not offer. Therefore, the state ownership of the sovereignty of the people see lessened. From the change of sovereignty "is" or "from".
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: