ทีมวิจัยญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการสร้างลิงมาร์โมเซ็ทดัดแปลงพันธุกรรม  การแปล - ทีมวิจัยญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการสร้างลิงมาร์โมเซ็ทดัดแปลงพันธุกรรม  อังกฤษ วิธีการพูด

ทีมวิจัยญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการ

ทีมวิจัยญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการสร้างลิงมาร์โมเซ็ทดัดแปลงพันธุกรรม ทำให้เรืองแสงได้ด้วยยีนในแมงกะพรุน นับเป็นลิงจีเอ็มโอตัวแรกของโลก ที่สามารถถ่ายทอดยีนเรืองแสงสู่รุ่นลูกได้ นักวิจัยหวังใช้เป็นทางสร้างลิงต้นแบบศึกษาโรคในคน ด้านเอ็นจีโอหวั่นนำไปสู่การสร้างมนุษย์ตัดต่อยีนในอนาคต

เอริกะ ซาซากิ (Erika Sasaki) และทีมวิจัยจากสถาบันเพื่อการวิจัยสัตว์ทดลอง (Central Institute for Experimental Animals) ของมหาวิทยาลัยเคโอ (Keio University) เผยผลสำเร็จในการสร้างลิงดัดแปรพันธุกรรม โดยให้ผิวหนังสามารถเรืองแสงสีเขียวได้ภายใต้แสงยูวี ซึ่งเอเอฟพีระบุว่าทีมวิจัยได้ตีพิมพ์ลงในวารสารเนเจอร์ (Nature) และนับเป็นครั้งแรกที่มีการตัดต่อพันธุกรรมสิ่งมีชีวิตตระกูลไพรเมต (Primate) ที่สามารถถ่ายทอดลักษณะพิเศษไปสู่รุ่นลูกได้

ทีมวิจัยได้ทดลองเพาะเลี้ยงตัวอ่อนของลิงมาร์โมเซ็ทธรรมดา (common marmoset หรือ Callithrix jacchus) ในจานเพาะเลี้ยง ซึ่งเป็นลิงขนาดเล็กที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในประเทศบราซิล จากนั้นจึงใช้ไวรัสเป็นตัวนำยีนที่ควบคุมการแสดงออกของโปรตีนเรืองแสงสีเขียว หรือจีเอฟพี (green fluorescent protein: GFP) ใส่เข้าไปในเซลล์ตัวอ่อนหรือเอมบริโอของลิงมาร์โมเซ็ทธรรมดา

นักวิจัยนำตัวอ่อนของลิงที่ผ่านการดัดแปลงพันธุกรรมแล้ว ไปฝากในท้องแม่ลิงมาร์โมเซ็ทจำนวน 7 ตัว โดยมีแม่ลิงเพียง 4 ตัว ที่ตั้งท้องสำเร็จ และให้กำเนิดลูกลิงออกมารวม 5 ตัว ซึ่งทุกตัวมียีนจีเอฟพีอยู่ในร่างกายเหมือนกัน และทำให้ลูกลิงที่เกิดมาเหล่านี้สามารถเรืองแสงสีเขียวได้เมื่ออยู่ภายใต้แสงยูวี

ทั้งนี้ ยีนจีเอฟพีถูกนำมาใช้กันโดยทั่วไปในการศึกษาวิจัยด้านพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อเป็นเครื่องหมายโมเลกุลที่บ่งชี้ว่ายีนสำคัญที่ต้องการศึกษามีการแสดงออกที่บริเวณใดของร่างกายสิ่งมีชีวิต ซึ่งโปรตีนจีเอฟพีถูกพบครั้งแรกในแมงกระพรุนเมื่อหลายสิบปีก่อนโดยโอซามุ ชิโมมูระ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี ปี 2551 จากการค้นพบดังกล่าว

อย่างไรก็ตาม ลูกลิงที่เกิดมา 2 ใน 5 ตัว มียีนจีเอฟพีอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ด้วย ดังนั้นลิงมาร์โมเซ็ทรุ่นต่อไปที่เกิดจากลิงดัดแปลงพันธุกรรมสองตัวนี้ จะได้รับถ่ายทอดยีนจีเอฟพีจากพ่อแม่และเรืองแสงได้เหมือนกันด้วย

นักวิจัยระบุว่าผลสำเร็จในครั้งนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาวิจัยทางด้านการแพทย์ เนื่องจากว่านักวิทยาศาสตร์การแพทย์มีความต้องการสัตว์ต้นแบบสำหรับการศึกษาที่มีลักษณะทางกายวิภาคใกล้เคียงกับมนุษย์มากกว่าสัตว์ฟันแทะจำพวกหนูที่ใช้เป็นสัตว์ทดลองอยู่ก่อนแล้ว เพื่อศึกษากลไกการเกิดโรคในมนุษย์และคิดค้นวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพต่อไป

เดิมทีนักวิทยาศาสตร์มักใช้หนูเมาส์และหนูแรทเป็นสัตว์ทดลอง โดยการดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อศึกษากลไกการเกิดโรคต่างๆในมนุษย และทดลองหาวิธีรักษาในระดับพรีคลินิก ก่อนที่จะทดลองในคนซึ่งเป็นระดับคลินิก ทว่ายังมีอีกหลายโรค โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ส และพาร์กินสันส์ ซึ่งมีความซับซ้อนมากเกินกว่าที่นักวิทยาศาสตร์จะศึกษาได้ในหนูทดลอง เนื่องจากความแตกต่างทางชีววิทยาบางอย่างระหว่างคนกับหนู

ส่วนความหวังที่จะใช้สัตว์ในตระกูลไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ สำหรับเป็นต้นแบบในการศึกษาทางการแพทย์นั้นมีมานานแล้ว แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จในการดัดแปลงพันธุกรรมโดยการใส่ยีนเข้าไปในเซลล์อสุจิและเซลล์ไข่ของลิง เพื่อที่จะให้ดีเอ็นเอที่ในใส่เข้าไปถ่ายทอดถึงรุ่นต่อๆไปได้ ซึ่งครั้งนี้นับเป็นความสำเร็จครั้งแรกที่สามารถใส่ยีนจากภายนอกให้เข้าไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของลิงได้

ทั้งนี้ ลิงดัดแปลงพันธุกรรมตัวแรกของโลกนั้นลืมตาดูโลกเมื่อปีวันที่ 2 ต.ค. 2543 เป็นลิงวอก (rhesus monkey) โดยทีมวิจัยสหรัฐฯ และได้รับการตั้งชื่อให้ว่า "แอนดี" (ANDi) ที่สะกดกลับหลังมาจากคำว่า อินเซอร์เทด ดีเอ็นเอ หรือ ไอดีเอ็นเอ (Inserted DNA: iDNA) โดยได้รับการใส่ยีนจีเอฟพีเข้าไปในร่างกายและเรืองแสงได้เช่นกัน แต่ยีนดังกล่าวไม่ได้เข้าไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแอนดีด้วย

"นี่เป็นกรณีแรกของโลกที่สามารถเหนี่ยวนำให้ยีนแปลกปลอมเข้าไปสอดแทรกอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของลิงได้ และสามารถที่จะถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานรุ่นต่อไปได้" ทีมนักวิจัยระบุ ซึ่งก้าวต่อไปของงานวิจัย นักวิทยาศาสตร์จะทดลองสร้างลิงมาร์โมเซ็ทตัดต่อพันธุกรรมที่สามารถส่งต่อลักษณะเหล่านั้นไปถึงลูกหลานได้ โดยจะตัดต่อยีนให้มีการแสดงออกของโรคที่เกิดในมนุษย์ เช่น พาร์กินสัน, กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเอแอลเอส (amyotrophic lateral sclerosis: ALS) เป็นต้น

จากผลสำเร็จการตัดต่อพันธุกรรมสัตว์ในตระกูลไพรเมตครั้งนี้ของทีมวิจัยมหาวิทยาลัยเคโอ ทำให้เกิดความกังวลขึ้นมาว่าอาจนำไปสู่การสร้างมนุษย์ด้วยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในอนาคต

"ยังมีคำถามอีกมากมายที่ไม่มีคำตอบ มันเป็นการก้าวที่ใหญ่มาก จากการสร้างลิงมาร์โมเซ็ทเรืองแสง ไปสู่การสร้างลิงมาร์โมเซ็ทที่เป็นโรคเช่นเดียวกับมนุษย์ มันเป็นสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อนเกินกว่าที่จะทำได้ และยังมีข้อถกเถียงในด้านจริยธรรมอีกมาก ซึ่งถือเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่ง" เฮเลน วอลเลซ เจ้าหน้าที่ของจีนวอทช์ (GeneWatch) องค์กรเอ็นจีโอที่เฝ้าระวังทางด้านจริยธรรมกับเทคโนโลยีชีวภาพของอังกฤษกล่าวกับผู้สื่อข่าวของเอเอฟพี

"ขั้นต้นอาจเป็นการถกเถียงในประเด็นเกี่ยวกับสิทธิและสวัสดิภาพของสัตว์ที่นำมาทดลอง และในลำดับต่อๆ ไปก็คงถกเถียงกันเรื่องแนวโน้มของอนาคตที่อาจเกิดขึ้นจากการกระทำสิ่งเหล่านี้ ไม่ว่าจะก่อให้เกิดการตัดต่อพันธุกรรมมนุษย์อย่างถูกต้องตามกฎหมายก็ตาม" เจ้าหน้าที่จากจีนวอทช์แสดงความเป็นห่วง.
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Japan research team has succeeded in creating a, monkeys genetically modified modules Mar sunset. Make glow with genes in jellyfish. The count is the first GMO monkeys in the world. That can convey the child version of the gene glow to it. Researchers hope to use as a template to create the monkey studies of disease in people. The NGOs fear leads to the creation of a human gene editing in the future. Erika Sato (Erika Sasaki) and the research team from the Institute for research on animal experiments. (Central Institute for Experimental Animals) of Keio University (Keio University), distribute the modified genetic creation of a monkey, the skin can glow green under UV light, which AFP indicate that the research team has published to the chemical nature (Nature), wan, and, for the first time with a clean family life private genetic met. (Primate) to convey the effects into the model. The research team has a weak culture of the monkey trial Mar Molino sunset plain (Callithrix jacchus common marmoset or) in plate culture, which is a small monkey that originated in Brazil. Then use viruses as gene that controls the display of the green fluorescent protein, or g-El faphi (the green fluorescent protein: GFP) is inserted into a cell or regular modules Mar emborio monkey set. นักวิจัยนำตัวอ่อนของลิงที่ผ่านการดัดแปลงพันธุกรรมแล้ว ไปฝากในท้องแม่ลิงมาร์โมเซ็ทจำนวน 7 ตัว โดยมีแม่ลิงเพียง 4 ตัว ที่ตั้งท้องสำเร็จ และให้กำเนิดลูกลิงออกมารวม 5 ตัว ซึ่งทุกตัวมียีนจีเอฟพีอยู่ในร่างกายเหมือนกัน และทำให้ลูกลิงที่เกิดมาเหล่านี้สามารถเรืองแสงสีเขียวได้เมื่ออยู่ภายใต้แสงยูวี This gene g El faphi is most commonly used in the study of the genetic engineering and biotechnology research as a molecular marker that indicates that the key is to study the genes expressed at any of the organisms body. Which protein g-faphi was first found in ACE me freckles prunes when dozens of years before by Osama Mohammed. Chips, modules Nakamura received Nobel Prize in chemistry last year 2551 (2008) from such a discovery. However, Monkey Ball 2 in 5 who have gene g El faphi in the reproductive cells. Therefore, the next-generation modules mar Monkey, sunset caused by two genetically modified monkeys the gene inheritance from their parents, and the General Manager of El faphi, has the same glow. นักวิจัยระบุว่าผลสำเร็จในครั้งนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาวิจัยทางด้านการแพทย์ เนื่องจากว่านักวิทยาศาสตร์การแพทย์มีความต้องการสัตว์ต้นแบบสำหรับการศึกษาที่มีลักษณะทางกายวิภาคใกล้เคียงกับมนุษย์มากกว่าสัตว์ฟันแทะจำพวกหนูที่ใช้เป็นสัตว์ทดลองอยู่ก่อนแล้ว เพื่อศึกษากลไกการเกิดโรคในมนุษย์และคิดค้นวิธีการรักษาที่มีประสิทธิภาพต่อไป เดิมทีนักวิทยาศาสตร์มักใช้หนูเมาส์และหนูแรทเป็นสัตว์ทดลอง โดยการดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อศึกษากลไกการเกิดโรคต่างๆในมนุษย และทดลองหาวิธีรักษาในระดับพรีคลินิก ก่อนที่จะทดลองในคนซึ่งเป็นระดับคลินิก ทว่ายังมีอีกหลายโรค โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ส และพาร์กินสันส์ ซึ่งมีความซับซ้อนมากเกินกว่าที่นักวิทยาศาสตร์จะศึกษาได้ในหนูทดลอง เนื่องจากความแตกต่างทางชีววิทยาบางอย่างระหว่างคนกับหนู ส่วนความหวังที่จะใช้สัตว์ในตระกูลไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ สำหรับเป็นต้นแบบในการศึกษาทางการแพทย์นั้นมีมานานแล้ว แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จในการดัดแปลงพันธุกรรมโดยการใส่ยีนเข้าไปในเซลล์อสุจิและเซลล์ไข่ของลิง เพื่อที่จะให้ดีเอ็นเอที่ในใส่เข้าไปถ่ายทอดถึงรุ่นต่อๆไปได้ ซึ่งครั้งนี้นับเป็นความสำเร็จครั้งแรกที่สามารถใส่ยีนจากภายนอกให้เข้าไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของลิงได้ ทั้งนี้ ลิงดัดแปลงพันธุกรรมตัวแรกของโลกนั้นลืมตาดูโลกเมื่อปีวันที่ 2 ต.ค. 2543 เป็นลิงวอก (rhesus monkey) โดยทีมวิจัยสหรัฐฯ และได้รับการตั้งชื่อให้ว่า "แอนดี" (ANDi) ที่สะกดกลับหลังมาจากคำว่า อินเซอร์เทด ดีเอ็นเอ หรือ ไอดีเอ็นเอ (Inserted DNA: iDNA) โดยได้รับการใส่ยีนจีเอฟพีเข้าไปในร่างกายและเรืองแสงได้เช่นกัน แต่ยีนดังกล่าวไม่ได้เข้าไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแอนดีด้วย "นี่เป็นกรณีแรกของโลกที่สามารถเหนี่ยวนำให้ยีนแปลกปลอมเข้าไปสอดแทรกอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของลิงได้ และสามารถที่จะถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานรุ่นต่อไปได้" ทีมนักวิจัยระบุ ซึ่งก้าวต่อไปของงานวิจัย นักวิทยาศาสตร์จะทดลองสร้างลิงมาร์โมเซ็ทตัดต่อพันธุกรรมที่สามารถส่งต่อลักษณะเหล่านั้นไปถึงลูกหลานได้ โดยจะตัดต่อยีนให้มีการแสดงออกของโรคที่เกิดในมนุษย์ เช่น พาร์กินสัน, กล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเอแอลเอส (amyotrophic lateral sclerosis: ALS) เป็นต้น จากผลสำเร็จการตัดต่อพันธุกรรมสัตว์ในตระกูลไพรเมตครั้งนี้ของทีมวิจัยมหาวิทยาลัยเคโอ ทำให้เกิดความกังวลขึ้นมาว่าอาจนำไปสู่การสร้างมนุษย์ด้วยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในอนาคต
"ยังมีคำถามอีกมากมายที่ไม่มีคำตอบ มันเป็นการก้าวที่ใหญ่มาก จากการสร้างลิงมาร์โมเซ็ทเรืองแสง ไปสู่การสร้างลิงมาร์โมเซ็ทที่เป็นโรคเช่นเดียวกับมนุษย์ มันเป็นสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อนเกินกว่าที่จะทำได้ และยังมีข้อถกเถียงในด้านจริยธรรมอีกมาก ซึ่งถือเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่ง" เฮเลน วอลเลซ เจ้าหน้าที่ของจีนวอทช์ (GeneWatch) องค์กรเอ็นจีโอที่เฝ้าระวังทางด้านจริยธรรมกับเทคโนโลยีชีวภาพของอังกฤษกล่าวกับผู้สื่อข่าวของเอเอฟพี

"ขั้นต้นอาจเป็นการถกเถียงในประเด็นเกี่ยวกับสิทธิและสวัสดิภาพของสัตว์ที่นำมาทดลอง และในลำดับต่อๆ ไปก็คงถกเถียงกันเรื่องแนวโน้มของอนาคตที่อาจเกิดขึ้นจากการกระทำสิ่งเหล่านี้ ไม่ว่าจะก่อให้เกิดการตัดต่อพันธุกรรมมนุษย์อย่างถูกต้องตามกฎหมายก็ตาม" เจ้าหน้าที่จากจีนวอทช์แสดงความเป็นห่วง.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Japanese research team succeeded in building a thermo-set genetically modified monkey. It glows with the jellyfish gene. It is the world's first genetically modified monkey. The gene glow generations have. Researchers hope to use the building as a monkey model of the disease in people. The NGOs fear led to the creation of the Human Gene Cloning future Erika Sasaki (Erika Sasaki) and a research team from the Institute for Research on laboratory animals (Central Institute for Experimental Animals) of Keio University (Keio University. ) reveals to create transgenic monkeys. The skin can glow green under UV light. The AFP noted that the study published in the journal Nature (Nature) and marks the first time that a genetically engineered creature clan primate (Primate) to broadcast a special way to release the ball. The research team cultured embryonic monkey trial to set a common thermoplastic (common marmoset or Callithrix jacchus) in the culture dish. The small monkeys that originated in Brazil. Then, the virus carries the gene that controls the expression of the protein glows green or GF P (green fluorescent protein: GFP) into the cell embryo or embryos of monkeys come thermostat set common development. Research led embryos of monkeys already been genetically modified. Deposited in mother macaques thermostat set to the number seven, with only four of the pregnant mother monkey success. And gave birth to a monkey out of five, which included all the genes in the body, GF, p alike. And the children born of these monkeys can glow green when placed under UV light, however. GF P gene is used commonly in research on genetic engineering and biotechnology. A marker that indicates that gene expression is important to study the area of the body creatures. The G protein AFP was first found in jellyfish decades ago by Osamu Nakamura, Mo Shi received the Nobel Prize in Chemistry in 2551 from such a discovery , however. Monkey 2 in 5 children are born with a gene Kyi AFP in a cell. So Monkey Mo set the next generation of genetically modified monkey was born from these two. Get the gene from P. GF parents and illuminated by the same researchers noted that the results achieved in this study are crucial to medical research. Since that medical scientists are demanding animal model for studying the anatomy similar to humans than rodents such as mice, rats already. To study the mechanism of disease in humans, and effective ways to treat the next Originally, scientists often use mice and rats as test animals. By genetic modification in order to study disease mechanisms in humans. Try and find a cure in preclinical level. Prior to the trial, which is in the clinic. But there are many other diseases. In particular neurodegenerative diseases such as Alzheimer's and Parkinson's. This is more complicated than scientists will study in rats. Due to some biological differences between human and mice, the animals, the family hopes to use non-human primates. For the model for medical education that have long been. But has not succeeded in genetically engineered by inserting genes into cells, sperm and egg cells of monkeys. In order to be inserted into the DNA to the next generation has inherited. This marks a first success that can put genes from outside into the cells of monkeys are addressed. The world's first genetically modified monkey was born on Oct. 2, 2543 The world is a rhesus macaques (rhesus monkey) by a US research team. And has been named to the "Andes" (ANDi) spelled backwards from that in Sir Ted DNA or a DNA (Inserted DNA: iDNA) by inserting the gene GF P into. body and glowing as well. But such is not the gene into the cells of the Andes with "This is the first case in the world that can induce foreign genes inserted into the cells of the monkey. And be able to convey to their children the next generation, "the researchers stated. The next step of the research. The scientists will try to establish links genetically engineered thermoplastic that can be set to forward those traits to offspring. It will cut the gene expression of the disease in humans, such as Parkinson's, muscular weakness or a psilocybin (amyotrophic lateral sclerosis: ALS) as the result of genetic animal family primate. This research team's Keio University. Raising concerns that it could lead to the creation of man by genetic engineering in the future, "there are many questions that have no answers. It is a very big step To create a link from the thermostat set to glow. To the creation of a thermostat set at Monkey is a disease just like humans. It is more complicated than can be achieved. There are also many ethical controversies. This is extremely important, "Helen Wallace Chinese officials Watch (GeneWatch) NGOs that monitor the ethics of biotechnology of England told the AFP "gross. It can be a debate on issues pertaining to the rights and welfare of animals used in experiments. And in any order But the debate about the future trends that may result from these actions. Whether the cause of human genetic engineering is required by law, "said an official from the China Watch expressed concern.

























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The research team Japan succeeded in creating the Mo monkey set genetically modified. Illuminated by the gene in jellyfish. The monkey GMO world first. Can transfer genes glow to the children.The NGOs' leading to the creation of human gene editing in the future!
.Erika Sasaki (Erika Sasaki) and research team from the Institute for research in experimental animals (Central Institute for Experimental Animals) of Keio University (Keio University) revealed a success in creating transgenic monkeyThe RAF peera stated that the research team published in the journal Nature (Nature) and for the first time with cutting on genetic organisms the primates. (Primate) that can convey effects to version you
.
.The research team was fed to the larvae of the Mo cultured monkey set simple (common marmoset or Callithrix jacchus) in Petri dishes. Which is a small monkey with provenances in Brazil.Or Ji ฟพี (green fluorescent protein:GFP) put into embryonic cells or embryo of monkey Mar Mo set plain

.The larvae of the monkeys through the researchers genetically modified. To deposit in the pregnant mother monkey Marc Mo set of 7. The mother monkey only 4, pregnant with success and gave birth baby monkey out include 5.The baby monkey born these can glow green when under UV light
.
.The gene ฟพี Ji is used commonly in the study of genetic engineering และเทคโนโลยีชีวภาพ. As a molecular marker genes were important indicators to study the expression of the body any creature.Shimomura who won the Nobel Prize in chemistry 2551 years the discovery of such
.
.However, the monkey was born 2 in 5. Gene in Ji ฟพี in germ cells. So the monkey Marc Mo set the next generation caused by genetically modified monkey two.
.The researchers stated that the success of this vital to education research in medicine.To study the mechanism of disease in human and invent ways of effective treatment next
.
.Originally, scientists often use you mouse and rat as an animal experiment. By genetically modified to study the mechanism of diseases in man. Experiment and find a cure in the premium level clinic. Before the trial in the clinic.The diseases of the nervous system such as Alzheimer's and Parkinson's disease. Which is more complicated than scientists will study in rats. Due to the differences between man and I
. Some biological
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: