การรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต การแปล - การรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต อังกฤษ วิธีการพูด

การรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภ

การรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแล
ผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิตในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
สมบูรณ์ เงาส่อง *
เดวิด คาซาเร็ท **
นงลักษณ์ อินตา ***
สุพรรณี เตรียมวิศิษฏ์ ***
ลดารัตน์ สาภินันท์ ***
จิตราวดี จิตจันทร์ ***
บทคัดย่อ : วัตถุประสงค์การวิจัย : เพื่อศึกษาการรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิตในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
รูปแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงสำรวจ (survey study)
วิธีดำเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่จำนวน 356 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่างทางไปรษณีย์หลังจากผู้ป่วยถึงแก่กรรม 1-2 สัปดาห์ หลังจากนั้นผู้วิจัยโทรศัพท์ไปหากลุ่มตัวอย่างเพื่อขอคำยินยอมเข้าร่วมการวิจัยและตอบแบบสอบถาม การวิจัยครั้งนี้ได้รับแบบสอบถามกลับ 260 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.2 จากนั้น นำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ข้อมูลคำตอบที่ได้นำมาจัดเป็นหมวดหมู่
ผลการวิจัย : การรับรู้ที่ดีที่สุดของสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต คือ เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพได้อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการเสียชีวิตของผู้ป่วยมากที่สุด (ร้อยละ 86.9) รองลงมาคือ เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพให้ข้อมูลแก่สมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับอาการและการรักษาแก่ครอบครัวอย่างสม่ำเสมอ (ร้อยละ 65.4) ส่วนข้อที่จำนวนสมาชิกในครอบครัวมีการรับรู้ที่ดีที่สุดน้อยที่สุด คือ รับรู้ว่าไม่เกิดความเจ็บปวดที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย (ร้อยละ 15.4) ขณะที่การรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อการดูแลผู้ป่วยโดยภาพรวมทั้งหมดมีจำนวนการรับรู้ในระดับดีมากที่สุด ร้อยละ 21.2
ข้อเสนอแนะ : สามารถนำไปปรับปรุงเพื่อพัฒนาคุณภาพในการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต เกี่ยวกับการจัดการความปวดของผู้ป่วย การให้ข้อมูล การดูแลสภาพจิตใจของญาติหลังจากผู้ป่วยเสียชีวิตและการวางแผนการดูแลรักษาผู้ป่วยร่วมกันระหว่างครอบครัวและทีมสุขภาพ
คำสำคัญ : การรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต
* ผู้วิจัยหลัก พยาบาลชำนาญการพิเศษ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ E-mail:somboon109@gmail.com
** ผู้วิจัยร่วม
*** ผู้วิจัยร่วม

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความเจ็บป่วยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าปัจจุบันความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์จะช่วยให้มนุษย์มีชีวิตยืนยาวและชะลอความตายได้มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามความตายยังคงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นเมื่อการดำเนินของโรคเข้าสู่ภาวะที่รุนแรงและไม่สามารถรักษาให้หายได้ เป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยจึงเปลี่ยนจากการดูแลผู้ป่วยให้หายจากภาวะเจ็บป่วยเป็นการดูแลแบบประคับประคองเพื่อสนับสนุนการคงไว้ซึ่งการมีชีวิตที่เหลืออยู่ของผู้ป่วยอย่างสมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพ พยาบาลในฐานะบุคลากรในทีมสุขภาพที่มีโอกาสอยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัว จึงมีบทบาทสำคัญในการเป็นสื่อกลาง การติดต่อสื่อสาร การจัดการกับปัญหา รวมทั้งให้การดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณและสังคม เพื่อช่วยให้สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วย มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในระยะที่ผู้ป่วยใกล้ตายจนถึงหลังการตายของผู้ป่วย
ฝ่ายการพยาบาลและทีมสหสาขาวิชาชีพโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่จึงได้ร่วมกันพัฒนา “รูปแบบการดูแลผู้ป่วยแบประคับประคอง” (Suandok’s Palliative Care Model) ซึ่งเป็นแนวทางการดูแลตามระดับความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ป่วย (Palliative Performance Scale Level) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กับผู้ป่วย 3 กลุ่มโรค คือ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผู้ป่วยโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดและผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต ซึ่งแนวปฏิบัติดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้อย่างต่อเนื่อง แต่ยังไม่มีการประเมินผลลัพธ์อย่างเป็นระบบ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวของผู้ที่เสียชีวิตต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิตในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินคุณภาพการบริการ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องต่อไป
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาการรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิตในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
รูปแบบการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (survey study) เพื่อศึกษาการรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิตในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คือญาติผู้ป่วยที่อยู่ในวาระสุดท้ายที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างคือสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยที่เสียชีวิตระหว่างเดือนมีนาคม 2555 ถึงเดือนสิงหาคม 2556 ที่ต้องมีคุณสมบัติคือ 1) อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปทั้งเพศชายและเพศหญิง 2) มีระยะเวลาเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยก่อนเสียชีวิตอย่างน้อย 24 ชั่วโมง 3) มีโอกาสได้รับทราบข้อมูลผู้ป่วยและได้ร่วมดูแลผู้ป่วยก่อนที่ผู้ป่วยถึงแก่กรรม 4) สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย มีที่อยู่และมีเบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ และ 5) ยินดีให้ความร่วมมือในการ

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 แบบสำรวจข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยของครอบครัว ความสัมพันธ์กับผู้ป่วยที่เสียชีวิต และ ระยะเวลาของสมาชิกในครอบครัวที่ได้ดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลครั้งสุดท้ายก่อนเสียชีวิต และแบบบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยที่เสียชีวิต ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา อาชีพ การวินิจฉัยโรคของผู้ป่วยก่อนเสียชีวิต ลักษณะหอผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาก่อนเสียชีวิต ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยครั้งสุดท้ายก่อนเสียชีวิต
ส่วนที่ 2 แบบประเมินการรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต ฉบับสั้น (Family Assessment of Treatment at End of Life Short Form [FATE-S]) ของคาซาเรท (Casarett et al, 2010) ที่ผู้วิจัยแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Recognition of family members on quality of care.The patient end of life in Maharaj Nakorn Chiang Mai.Perfect shine shine *David Casa ret **Nonglaksa the eyes ***Pannee Suez preparing Wisit (glorious) ***Jewel does to good nan ***Mental chitraodi Monday *** Abstract: the research objective: to study the perception of family members on quality of care for patients at the end of term life in Maharaj Nakorn Chiang Mai.Research theme: research survey (survey study)How to do research: sample of family members of patients who died in 356 days Maharaj Nakorn Chiang Mai daily collecting data by sending a questionnaire to a sample of the mail after a patient to die 1-2 weeks after that researchers call groups, for example, to ask for consent to participate in research and questionnaire. This research received the questionnaire back 260 items accounted for 73.2 percent from. Data statistical analysis using the finished program. With the average percentage frequency values and standard deviation and answer information that has taken on a category.Research results: the ultimate recognition of family members about the quality of care for patients at the end of term life is a health team officials described the deaths of most of the patients (86.9 per cent) also is a team of health officials, family members, as well as information about symptoms and treatment as well as families on a regular basis (65.4 per cent), the best deals at a number of members of the family have the best recognition is the least recognized as not born of pain that the patient is not happy (15.4 per cent), while the recognition of family members:Care of the patient with an overview of all recognized in most good level. 21.2 percent.Suggestion: can be adjusted to improve the quality of care a patient end of life pain management patient. To provide care for a relative's mental state after the patient died, and the planning of patient care and family health teams together.Keywords: perception of family members on quality of care for patients with end of life.* Primary invasive medical research who rates, Faculty of medicine, Chiang Mai University, E-mail: somboon109@gmail.com.** Joint researchers A joint researchThe history and importance of the problem.ความเจ็บป่วยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าปัจจุบันความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์จะช่วยให้มนุษย์มีชีวิตยืนยาวและชะลอความตายได้มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามความตายยังคงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นเมื่อการดำเนินของโรคเข้าสู่ภาวะที่รุนแรงและไม่สามารถรักษาให้หายได้ เป้าหมายของการดูแลผู้ป่วยจึงเปลี่ยนจากการดูแลผู้ป่วยให้หายจากภาวะเจ็บป่วยเป็นการดูแลแบบประคับประคองเพื่อสนับสนุนการคงไว้ซึ่งการมีชีวิตที่เหลืออยู่ของผู้ป่วยอย่างสมศักดิ์ศรีและมีคุณภาพ พยาบาลในฐานะบุคลากรในทีมสุขภาพที่มีโอกาสอยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัว จึงมีบทบาทสำคัญในการเป็นสื่อกลาง การติดต่อสื่อสาร การจัดการกับปัญหา รวมทั้งให้การดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณและสังคม เพื่อช่วยให้สมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วย มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งในระยะที่ผู้ป่วยใกล้ตายจนถึงหลังการตายของผู้ป่วย ฝ่ายการพยาบาลและทีมสหสาขาวิชาชีพโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่จึงได้ร่วมกันพัฒนา “รูปแบบการดูแลผู้ป่วยแบประคับประคอง” (Suandok’s Palliative Care Model) ซึ่งเป็นแนวทางการดูแลตามระดับความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ป่วย (Palliative Performance Scale Level) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กับผู้ป่วย 3 กลุ่มโรค คือ ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผู้ป่วยโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดและผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิต ซึ่งแนวปฏิบัติดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้อย่างต่อเนื่อง แต่ยังไม่มีการประเมินผลลัพธ์อย่างเป็นระบบ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการรับรู้ของสมาชิกในครอบครัวของผู้ที่เสียชีวิตต่อคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวาระสุดท้ายของชีวิตในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินคุณภาพการบริการ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องต่อไปThe purpose of the research.To study the perception of family members on quality of care for patients at the end of term life in Maharaj Nakorn Chiang Mai. Pattern researchThis research is a survey research (survey study) to study the perception of family members on quality of care for patients at the end of term life in Maharaj Nakorn Chiang Mai. Population and sample The population was patients ' relatives are on the agenda of the last treatment in Maharaj Nakorn Chiang Mai. A sample is a family member of a patient who died between March and August 2555 (2012) 2556 (2013) that there must be a property is 1) aged 18 years or above, both male and female, 2) for a period of treatment in patient care tower at least 24 hours prior to 3 deaths) have the opportunity to receive information about the patient and patient care involvement before a patient to die 4) can communicate with the Thai language. There are addresses and phone numbers to be contacted, and 5) are willing to cooperate in the. Tools used in research. Tools used in this research is composed of 2 parts:Part 1 of the personal data, the survey sample is comprised of gender, age, marital status, religion, education levels, occupations, the average income of a family relationship with a patient that died, and the duration of the family members who care for patients in the hospital last time before death. And the recorded data of the patients who died, age, sex, marital status, religion, consisting of a professional diagnosis of the patient before death. Hall effect for patients to receive treatment before they died. The duration of the patient's hospital bed last time before death. Part 2-evaluation of the perception of family members on quality of care for patients with end of life. Short version (End of Assessment at Treatment of Family Life Short Form [FATE-S]) of the Casa thins (Casarett et al, 2010) researchers who translate from English into.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Awareness of family members on the quality of care
for patients in end of life Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital,
the Shadow II *
David Casa Loretta **
Charming woman in the eye ***
*** SUPANNEE revised arrangements
for Hilda Hughes. Good Books, ***
*** Chitra Jitjan
Abstract: The purpose of the study: To evaluate the awareness of family members on the quality of end of life care for patients in hospitals Streptococcus
research model. Survey (survey study)
and Method: The sample consisted of family members of patients who died in hospital Maharaj Nakorn Chiang Mai 356 informants by sending a questionnaire to a sample in the mail after the patient's death. 1-2 weeks later, the researchers call for the subject to consent to participate in research and study. This research was given a questionnaire to 260 cases, representing 73.2 percent of the data were analyzed using statistical software packages. With frequency, percentage, mean and standard deviation, and the answer has been organized into categories
findings: the recognition of the best of the family members about the quality of patient care, end of life. staff health team explained about the death of most patients (86.9 percent), followed by team officials health information to family members about the symptoms and treatment to families regularly (65.4 percent) of the above. the number of family members to get to know the best least recognize that the pain that the patient discomfort (15.4 percent), while the awareness of family members to care for the patient by the pictures. Total amount to be recognized in a very good 21.2 percent
suggestion can be adjusted to improve the quality of patient care, end of life. About pain management of patients to provide care for the mental state of a relative after a patient died and planning patient care shared between family and health care team
Keywords: awareness of family members towards quality. patient care, end of life
* Principal Nurse Specialist. School of Medicine University E-mail: Somboon109@gmail.com
CoWorker **
*** CoWorker the history and importance of the illness is a health problem that affects those involved are enormous. Although advances in medical technology will help people live longer and have more slow death. However, death is still something that is unavoidable. So when disease progression in such a violent and can not be cured. The goal of patient care has shifted from patient care to recover from an illness, palliative care to support the retention of the remaining life of the patient's dignity and quality. As health care personnel in the team a chance to stay close to the patient and family members. Has an important role in the mediation. Communications To deal with As well as providing psychological care. Spiritual and social The family members of patients. Quality of life Both in patients near death until after the death of the patient nursing and multidisciplinary hospital Maharaj Nakorn Chiang Mai has a joint development. "The pattern of patient care Blackburn prop" (Suandok's Palliative Care Model), which provides care by level of activity of the patient (Palliative Performance Scale Level) to serve as a standard of care for patients and families to. to receive ongoing care. The 3 groups of patients with the disease is a cancer patient. Patients who can not be cured and the end of life patients. This practice has been used continuously. But no assessment of the system. The research was to study the perception of family members of those who died on the quality end of life care to patients in the hospital Maharaj Nakorn Chiang Mai. As part of the assessment of service quality. To bring the information to develop and continue to the purpose of the research was to study the awareness of family members on the quality of patient care, end of life in the hospital Maharaj Nakorn Chiang Mai research model research. This survey (survey study) to study the awareness of family members on the quality of end of life care for patients in hospitals, Chiang Mai and sampling population. The relatives of the patients at the end of admitted in hospital Maharaj Nakorn Chiang Mai. The samples were family members of patients who died between March 2555 and August 2556 at the features are: 1) aged 18 years old, both male and 2 female) are generally treated in the tower. The first patient died at least 24 hours and 3) the opportunity to get to know the patients and caregivers to join before the patient died 4) to communicate with language Thailand. The address and phone number of contact person and 5) are willing to cooperate in the tools used in the research tools used in this study consists of two parts: Part 1 surveys the privacy of orientations. gender, age, religion, marital status, education, occupation, income of the family. Relationships with patients who died and the family members who care for patients in the hospital the last time before death. And the records of patients who died were sex, age, religion, marital status, occupation, diagnosis of the patient before death. Characteristics wards admitted before death. Duration of hospital stay for patients before the final death of the second evaluation, the perception of family members on the quality of patient care, end of life issues, short (Family Assessment of Treatment at End of Life Short Form [FATE. -S]) of Casa Rate (Casarett et al, 2010) which were translated from English into French.














การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The perception of family members on the quality of patient care
end of life in Maharaj Nakorn Chiang Mai
complete shadow light *
. Casa RET * *
beautiful woman in ta * * *
radiant, prepare wisit * * *
LADA d * * * * * * * s; self
.จิตราวดี psychological Monday * * *
Abstract: Objective: To investigate the perception of family members on the quality of hospice care of life in Maharaj Nakorn Chiang Mai
design:A survey survey study)
research method:The family members of patients died in Maharaj Nakorn Chiang Mai number 356 cases. Data were collected by questionnaires sent to the post after the patient died 1-2 week.This research questionnaires back 260 cases were 73.2 then analyzed the statistic with frequency, percentage, mean and standard deviation. The data was used for grouped
results:The perception of the best of family members about the quality of patient care, the end of life is health care teams to explain about the process of death of patients with the most. The percentage of 86.9), followed by health care teams to provide information to family members about the symptoms and treatment to families regularly (% 65.4), the number of family members perceived best least was perceived not caused pain to patients not well. The percentage of 15.4) while the perception of family members to take care of all the patients overall perception level. 21.2%
suggestions:Can be used to improve development quality in hospice care of life. About pain management of patients, providing the information.Key words: perceptions of family members on the quality of hospice care of life
* the main research nurse specialist special faculty of Medicine Chiang E-mail: somboon109@gmail.com
* * the joint
* * * the joint

.Background and significance of the problem!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: