คนมลายูที่ปัตตานี” ในฐานะผู้เขียนวิทยานิพนธ์และผู้บรรยายหลัก ผมเห็นว่า การแปล - คนมลายูที่ปัตตานี” ในฐานะผู้เขียนวิทยานิพนธ์และผู้บรรยายหลัก ผมเห็นว่า ภาษาอินโดนีเซี วิธีการพูด

คนมลายูที่ปัตตานี” ในฐานะผู้เขียนวิ

คนมลายูที่ปัตตานี”

ในฐานะผู้เขียนวิทยานิพนธ์และผู้บรรยายหลัก ผมเห็นว่าประเด็นที่จะกล่าวต่อไปนี้ มิได้มีความสลักสำคัญทางแนวความคิดและทฤษฏีมากไปกว่าการพยายามเข้าใจกระบวนการสร้างความหมายและการตีความของคนมลายูผ่านกระบวนการเล่าเรื่องในบริบทต่างๆอันสะท้อนให้เห็นถึงประสบการณ์ชีวิต และความทรงจำที่คนมลายูมุสลิมมีต่อตนเอง ญาติมิตร ชุมชนและผู้คนต่างชาติพันธุ์ข้างเคียง ประสบการณ์และ
ความทรงจำซึ่งถูกทบทวน วิเคราะห์ และคัดสรรเหล่านี้ จึงเป็นส่วนหนึ่งของการพยายามอธิบายความเปลี่ยนแปลงต่างๆในชีวิตประจำวันโดยคน
มลายูมุสลิมเองแน่นอน ผมไม่สามารถสรุปได้เต็มปากว่ากระบวนการศึกษาครั้งนี้คือสิ่งที่ทางมานุษยวิทยาเรียกว่า “ทัศนะจาก
คนใน” หรือ “ทัศนะจากคนพื้นถิ่น” เพราะประสบการณ์ชีวิตและความทรงจำที่ถูกเล่าออกมานั้น สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมซึ่งเชื่อมโยงและแผ่ปริมณฑลออกไปเกินกรอบข้อจำกัดของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในหน่วยของชุมชน หมู่บ้าน และขอบเขตของรัฐชาติสมัยใหม่ ขณะเดียวกันเรื่องเล่าดังกล่าวยังได้สะท้อนถึง “ความเป็นชาติพันธุ์” ที่มิได้มีความหมายคับแคบอยู่เพียง ภาษา เครื่องแต่งกาย และประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ หากมีการเปลี่ยนแปลงและดำรงอยู่ภายใต้บริบทเงื่อนไข ที่สำคัญคือ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น อำนาจในการปกครองของรัฐ และกระบวนการทำให้เป็นอิสลาม(Islamization)
ในแง่มุมของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น คนมลายูซึ่งอยู่ในชุมชนแห่งนี้ มีเรื่องเล่าและความทรงจำในรูปแบบของสาแหรกเครือญาติ ที่สืบย้อนกลับไปยังเกาะและดินแดนต่างๆทั่วคาบสมุทรมลายู คนกลุ่มต่างๆเหล่านี้มีทั้งคนจีน โมโร และคนพื้นถิ่นกลุ่มต่างๆซึ่งได้นั่งเรือสำเภาเข้ามาค้าขาย และบางส่วนได้อพยพเคลื่อนย้าย หมุนเวียนไปยังเกาะต่างๆตาม การย้ายถิ่นของฝูงปลาซึ่งเป็นทรัพยากรที่สำคัญ กระทั่งเกิดการตั้งถิ่นฐาน ตลาด และชุมชนขนาดเล็กขึ้นริมทะเล ทั้งยังผูกสัมพันธ์กับคนพื้นถิ่น(ซึ่งเรียกตัวเองและถูกเรียกโดยคนกลุ่มอื่นว่า “ออแฆสิแย”หรือ “คนสยาม” ) ผ่านการแต่งงาน และการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ ทำให้ชุมชนริมทะเลแห่งนี้เริ่มขยายตัวและเป็นชุมชนในลักษณะพหุลักษณ์ ซึ่งเป็น แหล่งรวมชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของคนกลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นคนจีน คนมลายู คนสยาม และกลุ่มพ่อค้าต่างแดนซึ่งเข้ามาแวะเวียนอย่างไม่ขาดสาย
ณ ห้วงเวลานี้ อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์หรือ ความเป็นชาติพันธุ์ มิได้มีความสำคัญเท่ากับอัตลักษณ์ท้องถิ่นซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงสำนึกร่วมที่ผู้คนหลากกลุ่มมีอยู่ในสถานที่เดียวกัน ซึ่งสะท้อนให้เห็นจาก ตำนาน คำบอกเล่า การแก้ไขปัญหา และความขัดแย้ง ต่างๆ ซึ่งแม้มิได้เกิดขึ้นโรแมนติกประดุจดุจดั่งภาพฝันของภาพลักษณ์ “ชุมชนที่ดีงาม” แต่ก็แสดงให้เห็นถึง การต่อรองทางวัฒนธรรมที่ค่อนข้างลงตัว เห็นถึงมิติของความสำคัญในเชิงสถานที่ และสำนึกในท้องถิ่นเป็นหลัก“ความเป็นชาติพันธุ์” เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งท่ามกลางในห้วงสถานการณ์ที่ชุมชนแห่งนี้เข้าสู่ “รัฐ-ชาติสมัยใหม่” ในลักษณะของ “การสร้างอาณาบริเวณภายในเขตอำนาจของรัฐ” (territorialization) ซึ่งเป็นการตรึงผู้คนให้ผูกติดกับพื้นที่ โดยเฉพาะการทำสำมะโนครัวประชากร และการทำบัตรประจำตัวประชาชน ในต้นปี พ.ศ. 2500 ซึ่งนับเป็นวิกฤติในชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชนแห่งนี้เป็นอย่างมาก คนมลายูไม่สามารถเดินเรือไปนอกประเทศไปหาปลา และเยี่ยมญาติได้โดยปราศจากการยินยอมจากเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งยังถูกทำให้ “กลายเป็นไทย” และมีสำนึกในความเป็นพลเมือง ผ่านมิติทางวัฒนธรรม ระบบการศึกษา และการจัดรูปแบบการปกครองใหม่ ซึ่งได้แยกคนสยามที่เคยเป็นเครือญาติ(ซึ่งถูกเรียกโดยเจ้าหน้าที่รัฐและเรียกตนว่า “คนไทย” ในเวลาต่อมาตามนโยบายสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม) ให้ออกไปตั้งชุมชนใหม่ต่างหาก พร้อมกับมอบโฉนดที่ดินทำกินให้ไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ทำให้คนมลายูในชุมชนตกอยู่ในสถานะของพลเมืองชั้นสอง ในแง่มุมของการเข้าไม่ถึงกติกาหรือระเบียบที่ถูกจัดขึ้นมาใหม่หลังจากการถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ-ชาติสมัยใหม่ ทำให้ “ความเป็นมลายู” ในฐานะชาติพันธุ์ จึงกลายเป็นหลักประกันที่สำคัญแทนที่อัต
ลักษณ์ท้องถิ่นสำหรับการยืนยันว่า “พวกเขาคือใคร” ดังนั้น ความเป็นชาติพันธุ์ของมลายูในชุมชนแห่งนี้จึงเป็นสิ่งที่ใหม่มากและมีความสำคัญต่อพวกเขาและเธอ ไม่เกิน 50 ปีมานี้
อย่างไรก็ตาม “ความเป็นมลายู” ก็มิได้เป็นเอกภาพหรือเป็นเนื้อเดียวกันโดยสมบูรณ์ หากเต็มไปด้วยรอยปริแยกด้วยสถานภาพทางสังคมและความขัดแย้งทางชนชั้น คล้ายคลึงกับสังคมอื่นๆทั่วโลก โดยเฉพาะในเรื่องของการตีความที่ต่างกันในหลักการทางศาสนาอิสลาม ซึ่งราวกับเป็นลักษณะอันโดดเด่นของสังคมมุสลิมการตีความที่ต่างกันในหลักการทางศาสนาอิสลาม เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำให้เป็นอิสลาม หรือจะเรียกอีกอย่างได้ว่า กระแสปฏิรูปศาสนาอิสลาม ซึ่งมุ่งเน้นสลายความเป็น “อิสลามแบบท้องถิ่น” (วัฒนธรรมท้องถิ่นผสมผสานกับหลักการทางศาสนา)ให้จางหายไป และเข้าสู่การดำเนินชีวิตที่ถูกต้องตามหลักบัญญัติทางศาสนาทุกประการ แน่นอน ชุมชนมลายูแห่งนี้ได้เข้าสู่กระบวนการดังกล่าวด้วยเช่นกัน แต่อยู่ในลักษณะของการนำเอาหลักการทางศาสนามาให้ความชอบธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน มากกว่า ความขัดแย้งซึ่งเกิดจากการตีความหลักศาสนาโดยตรง ดังเช่น การประณาม “คนจน” ในชุมชนว่าเป็นกลุ่ม “สายเก่า” ที่ไม่เคร่งครัดต่อหลักการศาสนา มักเป็นผู้ที่งมงาย (แอบไหว้ผี บรรพบุรุษ บนบานสานกล่าว) มีชีวิตความเป็นอยู่ที่สกปรก หนี้สินรุงรัง และล้าหลัง ซึ่งตรงข้ามผู้ประณามคือ กลุ่มสายใหม่ ซึ่งส่วนมากมักเป็นกลุ่มนายทุนและราชการ ที่เชื่อศาสนาอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีชีวิตในที่พักอาศัยที่สะอาดและมีความก้าวหน้า ความขัดแย้งและรอยปริแยกดังกล่าวเห็นได้จากการแยกมัสยิดสำหรับป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ภาษาอินโดนีเซี) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Orang-orang Melayu di Pattani, "katanya. Sebagai seorang penulis, dosen dan tesis. Saya percaya bahwa isu-isu yang akan dibahas di sini tidak penting untuk konsep dan hipotesis lebih mencoba untuk memahami proses pembuatan makna dan interpretasi dari orang-orang Melayu melalui cerita dalam konteks yang berbeda dan mencerminkan pengalaman hidup dan kenangan orang-orang Muslim Melayu memiliki masyarakat ramah keluarga dan etnis orang sisi mereka. Pengalaman danKenangan yang telah dengan hati-hati dipilih untuk menganalisis dan meninjau hal ini sebagai bagian dari upaya untuk menggambarkan perubahan dalam kehidupan sehari-hari oleh orang-orang.Melayu Muslim, tentu saja. Saya tidak bisa meringkas proses mengatakan studi ini adalah apa yang disebut "alternatif perspektif dari antropologi.Orang-orang di "atau" putusan dari orang-orang lokal "karena pengalaman hidup dan kenangan yang diberitahu keluar itu mencerminkan sosial dan ikatan budaya itu link dan lebih menyebar keluar luar keterbatasan bingkai wilayah geografis masyarakat. Desa dan batas-batas negara-bangsa modern Pada saat yang sama, cerita-cerita tersebut juga mencerminkan "Etnis kesatuan" tidak berarti khapkhae bot adalah hanya bahasa, etnis dan sejarah kostum. Jika ada perubahan dan keberadaan dibawah konteks istilah penting merupakan sejarah dari pemerintah daerah dalam proses dan menjadikannya sebagai Islam (Islamisasi)Dalam aspek-aspek sejarah lokal. Orang Melayu yang tinggal dalam komunitas ini. Ada sebuah kisah dan kenangan dalam bentuk pejabat turunan hubungan kembali ke pulau dan Semenanjung Melayu di seluruh wilayah. Kelompok ini, yang keduanya dari orang Cina. Moro dan masyarakat asli, yang setiap sampah ke dalam perdagangan dan beberapa telah bermigrasi ke bergerak. Omset ke pulau. Migrasi ikan, yang adalah sumber daya yang besar serta pemukiman kembali terjadi. Pasar dan masyarakat pantai kecil juga diikat dalam kaitannya dengan penduduk asli (yang menyebut diri mereka oleh sekelompok berbeda orang menelepon dan berkata, "dari mereka" atau "XI khae orang Siam") melalui perkawinan dan pertukaran ekonomi. Membuat ini pantai masyarakat mulai tumbuh, dan sebagai masyarakat dalam cara yang mengubah plurinational sosial dan budaya kehidupan orang-orang dalam kelompok yang berbeda, terlepas dari apakah itu Cina orang Melayu. Orang-orang Siam dan sekelompok pedagang di luar negeri yang datang untuk mengunjungi, bukan kurangnya kabel. Saat ini, untuk limited Identitas etnis atau kelompok etnik memiliki sama pentingnya, identitas lokal, yang mencerminkan realisasi bersama bahwa ada lakklum orang di tempat yang sama, yang tercermin dari legenda hantu Sparta. Solusi untuk masalah dan konflik. , Yang bahkan memiliki citra romantis misalnya apa yang terjadi seperti gambaran mimpi "komunitas besar", tetapi itu menggambarkan budaya negosiasi relatif. Dimensi dari tempat dan pentingnya kesadaran lokal serta "etnis kesatuan", katanya. Mulailah untuk memainkan peranan penting, terutama di periode ini dari keadaan masyarakat, ke suatu negara bangsa modern "-" gaya "menciptakan di dalam yurisdiksi negara" (territorialization) yang akan membekukan orang, terikat untuk daerah tertentu untuk memastikan jumlah populasi penduduk.Untuk membuat kartu identitas untuk dipakai di 2500 (1957) krisis dalam kehidupan budaya komunitas ini sangat serius. Orang Melayu tidak berjalan dalam untuk menemukan perahu ikan, dan untuk mengunjungi kerabat tanpa persetujuan dari pihak berwenang adalah "menjadi Thailand" dan bahkan warga negara melalui dimensi budaya sistem pendidikan dan pemerintah baru dibentuk, yang pernah terpisah orang Siam.Sebagai seorang pematung dan adiknya (yang telah dipanggil oleh pejabat negara dan menyebut dirinya "orang Thailand" pada skala dari kebijakan modern stabilitas field marshal p. pibulsongkram), untuk bidang komunitas baru yang terpisah sertipikat tanah hibah dibuat untuk makan, segala sesuatu. Orang-orang Melayu dalam masyarakat jatuh ke dalam status warga negara kelas dua. Dalam aspek akses ke peraturan atau peraturan yang datang setelah sedang ditambahkan sebagai bagian dari modern Nasional negara-"Melayu" sebagai sebuah kelompok etnis, sehingga menjadi pengganti jaminan penting di.Lokal mencari konfirmasi bahwa "mereka yang" Jadi komunitas etnis Melayu, terletak di itu adalah hal yang sangat baru dan penting untuk mereka dan dia. Tidak lebih dari 50 tahun yang lalu. อย่างไรก็ตาม “ความเป็นมลายู” ก็มิได้เป็นเอกภาพหรือเป็นเนื้อเดียวกันโดยสมบูรณ์ หากเต็มไปด้วยรอยปริแยกด้วยสถานภาพทางสังคมและความขัดแย้งทางชนชั้น คล้ายคลึงกับสังคมอื่นๆทั่วโลก โดยเฉพาะในเรื่องของการตีความที่ต่างกันในหลักการทางศาสนาอิสลาม ซึ่งราวกับเป็นลักษณะอันโดดเด่นของสังคมมุสลิมการตีความที่ต่างกันในหลักการทางศาสนาอิสลาม เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำให้เป็นอิสลาม หรือจะเรียกอีกอย่างได้ว่า กระแสปฏิรูปศาสนาอิสลาม ซึ่งมุ่งเน้นสลายความเป็น “อิสลามแบบท้องถิ่น” (วัฒนธรรมท้องถิ่นผสมผสานกับหลักการทางศาสนา)ให้จางหายไป และเข้าสู่การดำเนินชีวิตที่ถูกต้องตามหลักบัญญัติทางศาสนาทุกประการ แน่นอน ชุมชนมลายูแห่งนี้ได้เข้าสู่กระบวนการดังกล่าวด้วยเช่นกัน แต่อยู่ในลักษณะของการนำเอาหลักการทางศาสนามาให้ความชอบธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน มากกว่า ความขัดแย้งซึ่งเกิดจากการตีความหลักศาสนาโดยตรง ดังเช่น การประณาม “คนจน” ในชุมชนว่าเป็นกลุ่ม “สายเก่า” ที่ไม่เคร่งครัดต่อหลักการศาสนา มักเป็นผู้ที่งมงาย (แอบไหว้ผี บรรพบุรุษ บนบานสานกล่าว) มีชีวิตความเป็นอยู่ที่สกปรก หนี้สินรุงรัง และล้าหลัง ซึ่งตรงข้ามผู้ประณามคือ กลุ่มสายใหม่ ซึ่งส่วนมากมักเป็นกลุ่มนายทุนและราชการ ที่เชื่อศาสนาอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีชีวิตในที่พักอาศัยที่สะอาดและมีความก้าวหน้า ความขัดแย้งและรอยปริแยกดังกล่าวเห็นได้จากการแยกมัสยิดสำหรับป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ภาษาอินโดนีเซี) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Orang Melayu Pattani, " sebagai penulis dan narator tesis utama. Saya melihat bahwa masalah akan dibahas di bawah. Juga adalah konsep yang signifikan dan teori daripada mencoba untuk memahami makna dan interpretasi Melayu melalui narasi dalam konteks berbagai mencerminkan pengalaman hidup. Dan kenangan yang orang memiliki komunitas Muslim mereka sendiri dan orang-orang yang berbeda sisi kerabat etnis. Pengalaman dan kenangan, yang ditinjau dan dianalisis pilihan ini. Ini adalah bagian dari upaya untuk menjelaskan perubahan dalam kehidupan sehari-hari oleh Muslim Melayu sendiri, tentu saja. Aku benar-benar tidak dapat menyimpulkan bahwa proses penelitian ini adalah apa yang disebut para ahli antropologi. "Sudut pandang dari orang "atau" sikap masyarakat setempat "karena pengalaman hidup dan kenangan yang dibagikan di luar sana. Mencerminkan hubungan sosial dan budaya, dan tersebar di wilayah pembatasan geografis di masyarakat desa dan sejauh mana negara-bangsa modern. Cerita ini juga tercermin. "Suku" yang tidak terbatas hanya untuk pakaian Inggris. Dan sejarah etnis Jika ada perubahan dan berada di bawah ketentuan konteks sejarah lokal. Otoritas dalam administrasi Negara Dan proses Islam (Islamisasi) pada aspek sejarah lokal. Orang Melayu di komunitas ini. Ada cerita dan kenangan dalam bentuk tokoh kerabat. Apakah ditelusuri kembali ke pulau-pulau dan teritori di seluruh Semenanjung Melayu. Di antaranya adalah Moro dan kelompok-kelompok pribumi orang-orang yang duduk berlayar untuk berdagang. Dan migrasi parsial. Diedarkan ke pulau-pulau Migrasi ikan, yang merupakan sumber penting. Akibatnya, pasar pemukiman dan komunitas pantai kecil. Hal ini juga berkaitan dengan vernakular (yang menyebut dirinya, dan yang disebut dengan kelompok lain. "Pada Jan Karon" atau "siam") melalui pernikahan. Dan pertukaran ekonomi Membuat pantai ini masyarakat tumbuh dan masyarakat dalam berbagai penampilan, pusat kehidupan sosial dan budaya dari berbagai kelompok. Apakah itu Cina, Melayu, orang Thailand dan pedagang asing yang sering terus menerus saat ini, atau identitas etnik. Etnis Tidak sepenting identitas lokal yang mencerminkan kesadaran bahwa orang mengasosiasikan dengan kelompok-kelompok yang berbeda di tempat yang sama. Yang tercermin oleh kisah mengatakan untuk memperbaiki masalah. Dan konflik yang tidak terjadi bahkan mulai menyukai mimpi romantis gambar. "Masyarakat cukup bagus," tapi itu menunjukkan. Negosiasi budaya cukup fit. Bahwa dimensi pentingnya tempat. Dan pengakuan dari lokal utama "etnis" mulai memainkan peran dalam situasi yang sangat penting untuk komunitas ini. "Negara - modern" dalam bentuk "penjajahan dalam yurisdiksi negara" (teritorialisasi), yang pasti akan memikat orang ke daerah. Secara khusus, sensus penduduk Dan membuat KTP di 2500, yang menandai awal krisis dalam kehidupan budaya masyarakat ini sangat besar. Orang Melayu tidak bisa kapal luar negeri untuk ikan. Dan mengunjungi kerabat tanpa persetujuan dari pihak berwenang. Mereka adalah "Menjadi Thailand" dan rasa kewarganegaraan. Dimensi budaya pendidikan dan format rezim baru. Yang telah dipisahkan siam pernah kekerabatan (yang disebut oleh pejabat dan menyebut dirinya "Thailand" kemudian Chom Phon periode kebijakan. Pibulsonggram) untuk memisahkan komunitas baru. Seiring dengan tanah yang subur luar biasa untuk miliknya. Orang Melayu di masyarakat jatuh ke dalam status warga negara kelas dua. Dalam hal aturan dan peraturan tidak akan diadakan setelah dimasukkan sebagai bagian dari negara - modern membuat "Melayu" sebagai etnis. Sehingga menjadi jaminan Override otomatis tampilan lokal untuk konfirmasi. "Siapa mereka?" Jadi etnis Melayu di komunitas ini, sehingga sangat baru dan penting bagi mereka, dan dia memiliki lebih dari 50 tahun, namun. "The Malay" bukanlah kesatuan yang homogen atau benar-benar. Jika diisi dengan belahan dada dengan status sosial dan konflik kelas. Mirip dengan masyarakat lain di seluruh dunia. Terutama dalam hal interpretasi yang berbeda dari prinsip-prinsip Islam. Yang, seperti karakteristik khas masyarakat Muslim untuk interpretasi yang berbeda dari prinsip-prinsip Islam. Sebagai bagian dari proses Islam. Hal ini juga diketahui bahwa. Reformasi mata uang Islam Yang berfokus pada rinciannya "Masyarakat Islam" (budaya lokal menyatu dengan prinsip-prinsip agama) memudar. Dan menjadi gaya hidup sesuai dengan hukum agama dalam segala hal, ini jelas masyarakat Melayu ke dalam proses, juga. Tapi dengan cara membawa prinsip-prinsip agama yang dibenarkan dalam masyarakat daripada konflik yang timbul dari penafsiran doktrin secara langsung sebagai mengutuk "orang miskin" di masyarakat sebagai kelompok "tua" non-ketat. prinsip-prinsip agama Biasanya orang-orang yang bodoh (saya pingsan roh leluhur menenun), kehidupan seorang 'kotor. Kewajiban berantakan dan Uni Soviet, yang dikutuk di seluruh segmen garis, yang paling sering adalah kaum kapitalis dan pemerintah. Agama rasionalitas. Tinggal di tempat penampungan, bersih dan progresif. Konflik dan retak dan diisolasi untuk masjid.








การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: