ด้านเศรษฐกิจ ทองแดงเนื่องจากมองโกเลียอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียตม การแปล - ด้านเศรษฐกิจ ทองแดงเนื่องจากมองโกเลียอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียตม อังกฤษ วิธีการพูด

ด้านเศรษฐกิจ ทองแดงเนื่องจากมองโกเล

ด้านเศรษฐกิจ

ทองแดง
เนื่องจากมองโกเลียอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียตมาตั้งแต่ปี 2467 จึงทำให้สหภาพโซเวียตเป็นประเทศคู่ค้าสำคัญ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี 2534 ทำให้ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศลดลง และส่งผลกระทบให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจขึ้นในมองโกเลีย วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงที่มองโกเลียกำลังเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบบสังคมนิยมมาสู่ระบบตลาดเสรี มองโกเลียจึงเร่งเปิดประตูสู่นานาชาติมากขึ้นรัฐบาลมองโกเลียภายใต้การนำของนายมิเกกอมโบ อิ๊งค์โบดลด เน้นการแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ ปัญหาความยากจน และยังคงดำเนินนโยบายเปิดกว้างทางเศรษฐกิจและการลงทุน (นักลงทุนต่างชาติสามารถลงทุนได้ 100%) เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการบริการสภาวะทางเศรษฐกิจของมองโกเลียในช่วงแรกที่เริ่มปรับเปลี่ยนสู่ระบบตลาดเสรี มีความผันผวนอย่างมาก และได้เริ่มปรับตัว มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา โดยในปี 2548 มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจร้อยละ 5.5 และอัตราเงินเฟ้อร้อยละ 11 (ที่มา: Mongolia Annual Economic Development Report/ADB Forecast และ CIA : The World Factbook)
•ปัจจุบัน มองโกเลียถือได้ว่าเป็น new market economy ซึ่งเปิดให้ต่างชาติเข้าไปลงทุนได้ 100% ในด้านสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน คมนาคม โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรมเหมืองแร่ เนื่องจากมองโกเลียอุดมไปด้วยแร่ธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ ทองแดง ถ่านหิน โมลิบดีนั่ม ดีบุก ทังสเตน และทองคำ โดยเฉพาะถ่านหิน ทองคำ และทองแดง เป็นรายได้หลักสำคัญของมองโกเลียในปัจจุบัน
•ประชากรชาวมองโกเลียประมาณ 47% อยู่ในภาคเกษตรกรรม และมีหมู่บ้านจำนวน 329 หมู่บ้านที่มีอาชีพเลี้ยงสัตว์ โดยมองโกเลียมีจำนวนสัตว์เลี้ยงประมาณ 28 ล้านตัว แต่สามารถผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคใช้ภายในประเทศเพียง 30% และต้องนำเข้าจากต่างประเทศ 70% ดังนั้น รัฐบาล มองโกเลียจึงกำหนดให้การพัฒนาเกษตรกรรมเป็นความสำคัญเร่งด่วนและกำหนดแผนในการพัฒนาการเกษตร โดยมุ่งเน้นการพัฒนาด้านปศุสัตว์ให้ทันสมัย และกำหนดให้ปี ค.ศ. 2010 สามารถผลิตพืชผักเพื่อการบริโภคภายในประเทศอย่างเพียงพอ
•คู่ค้าที่สำคัญของมองโกเลียคือ จีน และรัสเซีย โดยจีนเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 ของมองโกเลีย สินค้าส่งออกที่สำคัญ เช่น ทองแดง เสื้อผ้า ปศุสัตว์ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แคชเมียร์ ขนแกะ และรัสเซียเป็นตลาดนำเข้าอันดับ 1 สินค้านำเข้าที่สำคัญ เช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ น้ำมัน รถยนต์ ผลิตภัณฑ์อาหาร สินค้าอุปโภคบริโภค อุปกรณ์ก่อสร้าง เป็นต้น

เศรษฐกิจการค้า
สินค้าส่งออกที่สำคัญ แร่โมลิบดีนัม ทองแดง ขนสัตว์ เครื่องหนัง พรมขนสัตว์ เนื้อสัตว์ ไม้ท่อน(แร่โมลิบดีนัมและทองแดงเป็นสินค้าออกที่สำคัญมีมูลค่าครึ่งหนึ่งของสินค้าออกทั้งหมด)สินค้านำเข้าที่สำคัญ น้ำมัน โลหะ เครื่องจักรกล วัสดุก่อสร้าง ยานพาหนะ อาหาร(น้ำมันเป็นสินค้านำเข้าที่สำคัญมีประมาณครึ่งหนึ่งของสินค้านำเข้าทั้งหมด)ประเทศคู่ค้าส่งออกที่สำคัญ 1. จีน (ร้อยละ 42) 2. สหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 31.6) 3. รัสเซีย (ร้อยละ 9)
4. เกาหลีใต้ (ร้อยละ 4.3) 5. ญี่ปุ่น (ร้อยละ1.2)
ประเทศคู่ค้านำเข้าที่สำคัญ 1. รัสเซีย(ร้อยละ 34.4)
2.จีน (ร้อยละ 24.3) 3. ญี่ปุ่น(ร้อยละ 6.2) 4.เยอรมนี (ร้อยละ4.4) 5. สหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 3.4) ตลาดหุ้น Mongolian Stock Exchange การลงทุนจากต่างประเทศ ช่วงปี 2533-2545 มีนักลงทุนจาก 72 ประเทศเข้ามาลงทุนในมองโกเลีย จำนวน 2,399 ราย มูลค่าการลงทุนรวม 660.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศที่เข้าไปลงทุนมากที่สุด ได้แก่ จีน รัสเซีย และเกาหลีใต้ สาขาการลงทุนที่รัฐบาลมองโกเลียให้การส่งเสริม ได้แก่ โครงการสาธารณูปโภคพื้นฐาน อุตสาหกรรมการสำรวจและแปรรูปแร่ธาตุ การท่องเที่ยว และการโรงแรม




ด้านศาสนา
ปัจจุบันชาวมองโกลส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ-นิกายลามะ และลัทธิชามาน(แตกแขนงออกมาจากศาสนาพุทธนิกายลามะในภายหลัง) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากทิเบต มีลามะ เป็นผู้นำทางศาสนา
สถิติล่าสุด (จาก Operation World - 1 มกราคม 2003) เป็นไปตามลำดับดังนี้
1) ผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายลามะและลัทธิชามาน 53.7 %
2) ผู้นับถือศาสนาอื่น ๆรวมไปถึงไม่เลือกนับถือศาสนาใด 41.6 %
3) ชาวมุสลิม(ส่วนใหญ่เป็นชาวคาซัค) 4 %
4) ชาวคริสต์(ส่วนใหญ่เป็นชาวรัสเซีย) 0.71 %



ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมองโกเลีย

1. ยุทธศาสตร์ของไทยต่อมองโกเลีย
สนับสนุนให้มองโกเลียมีบทบาทอย่างแข็งขันในเวทีการเมืองระหว่างประเทศทั้ง ในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ เพื่อเป็นพันธมิตรกับไทยในเวทีระหว่างประเทศต่างๆให้ความช่วยเหลือแก่มองโกเลียในสาขาที่ไทยมีความเชี่ยวชาญและมีความพร้อม โดยเฉพาะในสาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ
2. ความสัมพันธ์ทั่วไป
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมองโกเลียเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2517 โดยกำหนดให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง มีเขตอาณาครอบคลุมมองโกเลีย และแต่งตั้งให้เอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต ณ กรุงอูลันบาตอร์อีกตำแหน่งหนึ่งสำหรับฝ่ายมองโกเลียในช่วงแรกได้แต่งตั้งให้ เอกอัครราชทูตมองโกเลีย ณ เวียงจันทน์ ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตมองโกเลียประจำประเทศไทยอีกตำแหน่งหนึ่ง ต่อมาเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2543 มองโกเลียได้เปิดสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยขึ้น มีนายลูฟซันดอร์จ บายาร์ท (Luvsandorj Bayart) เป็นเอกอัครราชทูตมองโกเลียประจำประเทศไทยคนแรก ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมองโกเลียโดยทั่วไปดำเนินไปอย่างราบรื่น แต่การ ติดต่อระหว่างกันมีน้อย เนื่องจากมองโกเลียเป็นประเทศห่างไกลและอยู่ภายใต้อิทธิพลของอดีตสหภาพ โซเวียตมาเป็นเวลานาน เมื่อมองโกเลียได้ปรับเปลี่ยนระบบการเมืองและเศรษฐกิจภายในประเทศไปสู่ระบบ เสรีประชาธิปไตยในปี 2533 การติดต่อแลกเปลี่ยนระหว่างไทยและมองโกเลียจึงมีเพิ่มมากขึ้นและได้มีการ เยือนระหว่างกันที่สำคัญ ได้แก่ การเสด็จฯ เยือนมองโกเลียของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่างวันที่ 6-12 ตุลาคม 2535 ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของประธานาธิบดีมองโกเลีย และการเดินทางเยือนไทยของประธานาธิบดี Punsalmaagiin Ochirbat (นายพูซาลมากิน ออเชอรบัต) อย่างเป็นทางการระหว่างวันที่ 25-28 กุมภ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The economy. Copperเนื่องจากมองโกเลียอยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียตมาตั้งแต่ปี 2467 จึงทำให้สหภาพโซเวียตเป็นประเทศคู่ค้าสำคัญ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี 2534 ทำให้ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศลดลง และส่งผลกระทบให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจขึ้นในมองโกเลีย วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงที่มองโกเลียกำลังเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบบสังคมนิยมมาสู่ระบบตลาดเสรี มองโกเลียจึงเร่งเปิดประตูสู่นานาชาติมากขึ้นรัฐบาลมองโกเลียภายใต้การนำของนายมิเกกอมโบ อิ๊งค์โบดลด เน้นการแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ ปัญหาความยากจน และยังคงดำเนินนโยบายเปิดกว้างทางเศรษฐกิจและการลงทุน (นักลงทุนต่างชาติสามารถลงทุนได้ 100%) เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการบริการสภาวะทางเศรษฐกิจของมองโกเลียในช่วงแรกที่เริ่มปรับเปลี่ยนสู่ระบบตลาดเสรี มีความผันผวนอย่างมาก และได้เริ่มปรับตัว มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา โดยในปี 2548 มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจร้อยละ 5.5 และอัตราเงินเฟ้อร้อยละ 11 (ที่มา: Mongolia Annual Economic Development Report/ADB Forecast และ CIA : The World Factbook)• Current Mongolia has a new market economy, which is open to foreign investment is 100% in the public transport industry, especially mining, since Mongolia is rich in minerals. Major natural resources: coal, copper Tin, tungsten, and good hotel modules separated by a gold, especially coal. Gold and copper are the main income of Mongolia today.•ประชากรชาวมองโกเลียประมาณ 47% อยู่ในภาคเกษตรกรรม และมีหมู่บ้านจำนวน 329 หมู่บ้านที่มีอาชีพเลี้ยงสัตว์ โดยมองโกเลียมีจำนวนสัตว์เลี้ยงประมาณ 28 ล้านตัว แต่สามารถผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคใช้ภายในประเทศเพียง 30% และต้องนำเข้าจากต่างประเทศ 70% ดังนั้น รัฐบาล มองโกเลียจึงกำหนดให้การพัฒนาเกษตรกรรมเป็นความสำคัญเร่งด่วนและกำหนดแผนในการพัฒนาการเกษตร โดยมุ่งเน้นการพัฒนาด้านปศุสัตว์ให้ทันสมัย และกำหนดให้ปี ค.ศ. 2010 สามารถผลิตพืชผักเพื่อการบริโภคภายในประเทศอย่างเพียงพอ•คู่ค้าที่สำคัญของมองโกเลียคือ จีน และรัสเซีย โดยจีนเป็นตลาดส่งออกอันดับ 1 ของมองโกเลีย สินค้าส่งออกที่สำคัญ เช่น ทองแดง เสื้อผ้า ปศุสัตว์ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์แคชเมียร์ ขนแกะ และรัสเซียเป็นตลาดนำเข้าอันดับ 1 สินค้านำเข้าที่สำคัญ เช่น เครื่องจักรและอุปกรณ์ น้ำมัน รถยนต์ ผลิตภัณฑ์อาหาร สินค้าอุปโภคบริโภค อุปกรณ์ก่อสร้าง เป็นต้นเศรษฐกิจการค้า สินค้าส่งออกที่สำคัญ แร่โมลิบดีนัม ทองแดง ขนสัตว์ เครื่องหนัง พรมขนสัตว์ เนื้อสัตว์ ไม้ท่อน(แร่โมลิบดีนัมและทองแดงเป็นสินค้าออกที่สำคัญมีมูลค่าครึ่งหนึ่งของสินค้าออกทั้งหมด)สินค้านำเข้าที่สำคัญ น้ำมัน โลหะ เครื่องจักรกล วัสดุก่อสร้าง ยานพาหนะ อาหาร(น้ำมันเป็นสินค้านำเข้าที่สำคัญมีประมาณครึ่งหนึ่งของสินค้านำเข้าทั้งหมด)ประเทศคู่ค้าส่งออกที่สำคัญ 1. จีน (ร้อยละ 42) 2. สหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 31.6) 3. รัสเซีย (ร้อยละ 9) 4. เกาหลีใต้ (ร้อยละ 4.3) 5. ญี่ปุ่น (ร้อยละ1.2)ประเทศคู่ค้านำเข้าที่สำคัญ 1. รัสเซีย(ร้อยละ 34.4) 2.จีน (ร้อยละ 24.3) 3. ญี่ปุ่น(ร้อยละ 6.2) 4.เยอรมนี (ร้อยละ4.4) 5. สหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 3.4) ตลาดหุ้น Mongolian Stock Exchange การลงทุนจากต่างประเทศ ช่วงปี 2533-2545 มีนักลงทุนจาก 72 ประเทศเข้ามาลงทุนในมองโกเลีย จำนวน 2,399 ราย มูลค่าการลงทุนรวม 660.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศที่เข้าไปลงทุนมากที่สุด ได้แก่ จีน รัสเซีย และเกาหลีใต้ สาขาการลงทุนที่รัฐบาลมองโกเลียให้การส่งเสริม ได้แก่ โครงการสาธารณูปโภคพื้นฐาน อุตสาหกรรมการสำรวจและแปรรูปแร่ธาตุ การท่องเที่ยว และการโรงแรม



ด้านศาสนา
ปัจจุบันชาวมองโกลส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ-นิกายลามะ และลัทธิชามาน(แตกแขนงออกมาจากศาสนาพุทธนิกายลามะในภายหลัง) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากทิเบต มีลามะ เป็นผู้นำทางศาสนา
สถิติล่าสุด (จาก Operation World - 1 มกราคม 2003) เป็นไปตามลำดับดังนี้
1) ผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายลามะและลัทธิชามาน 53.7 %
2) ผู้นับถือศาสนาอื่น ๆรวมไปถึงไม่เลือกนับถือศาสนาใด 41.6 %
3) ชาวมุสลิม(ส่วนใหญ่เป็นชาวคาซัค) 4 %
4) ชาวคริสต์(ส่วนใหญ่เป็นชาวรัสเซีย) 0.71 %



ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมองโกเลีย

1. ยุทธศาสตร์ของไทยต่อมองโกเลีย
สนับสนุนให้มองโกเลียมีบทบาทอย่างแข็งขันในเวทีการเมืองระหว่างประเทศทั้ง ในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ เพื่อเป็นพันธมิตรกับไทยในเวทีระหว่างประเทศต่างๆให้ความช่วยเหลือแก่มองโกเลียในสาขาที่ไทยมีความเชี่ยวชาญและมีความพร้อม โดยเฉพาะในสาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ
2. ความสัมพันธ์ทั่วไป
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมองโกเลียเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2517 โดยกำหนดให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง มีเขตอาณาครอบคลุมมองโกเลีย และแต่งตั้งให้เอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต ณ กรุงอูลันบาตอร์อีกตำแหน่งหนึ่งสำหรับฝ่ายมองโกเลียในช่วงแรกได้แต่งตั้งให้ เอกอัครราชทูตมองโกเลีย ณ เวียงจันทน์ ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตมองโกเลียประจำประเทศไทยอีกตำแหน่งหนึ่ง ต่อมาเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2543 มองโกเลียได้เปิดสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยขึ้น มีนายลูฟซันดอร์จ บายาร์ท (Luvsandorj Bayart) เป็นเอกอัครราชทูตมองโกเลียประจำประเทศไทยคนแรก ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมองโกเลียโดยทั่วไปดำเนินไปอย่างราบรื่น แต่การ ติดต่อระหว่างกันมีน้อย เนื่องจากมองโกเลียเป็นประเทศห่างไกลและอยู่ภายใต้อิทธิพลของอดีตสหภาพ โซเวียตมาเป็นเวลานาน เมื่อมองโกเลียได้ปรับเปลี่ยนระบบการเมืองและเศรษฐกิจภายในประเทศไปสู่ระบบ เสรีประชาธิปไตยในปี 2533 การติดต่อแลกเปลี่ยนระหว่างไทยและมองโกเลียจึงมีเพิ่มมากขึ้นและได้มีการ เยือนระหว่างกันที่สำคัญ ได้แก่ การเสด็จฯ เยือนมองโกเลียของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่างวันที่ 6-12 ตุลาคม 2535 ตามคำกราบบังคมทูลเชิญของประธานาธิบดีมองโกเลีย และการเดินทางเยือนไทยของประธานาธิบดี Punsalmaagiin Ochirbat (นายพูซาลมากิน ออเชอรบัต) อย่างเป็นทางการระหว่างวันที่ 25-28 กุมภ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: