ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป 10 ชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซ การแปล - ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป 10 ชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซ อังกฤษ วิธีการพูด

ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้น

ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป 10 ชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งประกอบด้วย บรูไน อินโดนีเซีย พม่า กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย จะรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน หรือ ASEAN Economic Community เพื่อที่จะให้มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การศึกษา ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและสังคมร่วมกัน ซึ่งคาดว่าจะทำให้มีอำนาจต่อรองด้านต่างๆ กับคู่ค้าได้มากขึ้น นอกจากนี้การนำเข้า-ส่งออกของระหว่างชาติในอาเซียนก็จะเสรี ยกเว้นสินค้าอ่อนไหวบางชนิด (Sensitive Lists) ที่แต่ละประเทศอาจจะขอกันไว้ไม่ลดภาษีนำเข้า

วิทยาการเรื่องการเกษตร
มหาวิทยาลัยชั้นนำหลาย ๆ แห่งของอินโดนีเซียมีความถนัดและจุดแข็งทางด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางด้านการเกษตร/ Ecosystem/ Food Sciences/ และ Agricultural Engineering ทำให้อินโดนีเซียมีพื้นฐานความชำนาญทางการเกษตรและอาหาร การเปิด AEC อาจจะส่งผลกระทบต่อการเกษตรไทยได้ในพืชหลายชนิด เช่น ปาล์มน้ำมัน ที่ไทยต้องแข่งขันกับมาเลเซียและอินโดนีเซีย มะพร้าวแห้ง ที่อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตมะพร้าวอันดับหนึ่งของโลก รองมาคือ ฟิลิปปินส์ และชา ที่อินโดนีเซียเป็นผู้ผลิตอันดับสี่ของโลก รองจากอินเดีย จีนและศรีลังกา ตามลำดับ (กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์, 2555) ในภาคเกษตรนับว่าเริ่มมีการเปิดการค้าเสรีมาแล้วตั้งแต่ปี 2553 มีสินค้าเกษตรบางรายการเท่านั้นที่มีความอ่อนไหว (Sensitive lists) ที่จะต้องมาตกลงกัน เช่น ไทยมีกาแฟ มันฝรั่ง และมะพร้าวแห้ง ส่วนอินโดนีเซีย มีเฉพาะสินค้าข้าว และกุ้ง

ข้าว การเปิด AEC น่าจะทำให้ภาษีนำเข้าข้าวของตลาดอาเซียนลดลงเป็น 0% และช่วยเปิดตลาดส่งออกข้าวไทยไปยังอินโดนีเซียได้มากขึ้น เนื่องจากคนอินโดนีเซียผลิตไม่พอกับความต้องการภายในประเทศ แต่ในทางปฏิบัติแล้วประเทศอินโดนีเซียกำหนดให้สินค้าข้าวอยู่ในรายการสินค้าที่มีความอ่อนไหวสูงและยังคงอัตราภาษีนำเข้าไว้อยู่ระหว่าง 30-40 % ของราคาข้าว รวมทั้งมีการใช้มาตรการที่มีใช่ภาษีในการนำเข้าข้าวด้วย นอกจากนี้ข้าวของไทยยังคงต้องแข่งขันในด้านราคากับประเทศคู่แข่งในอาเซียนด้วยกันเอง อาทิ เวียดนาม กัมพูชา และในอนาคตอาจจะเป็นพม่าซึ่งมีต้นทุนในการผลิตข้าวต่ำกว่าประเทศไทย

ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของเกษตรกรของไทย น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ของไทยถือได้ว่ามีคุณภาพสูงเมื่อเทียบกับประเทศผู้ผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มรายอื่น ๆ เนื่องจากเป็นน้ำมันที่มีลักษณะใส ไม่มีตะกอนและไม่เป็นไข ในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลโดยองค์การคลังสินค้าได้มีการนำเข้าน้ำมันปาล์มจากต่างประเทศเข้ามาเป็นระยะๆ ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรชาวสวนปาล์มไทยอย่างชัดเจน เนื่องจากน้ำมันปาล์มดิบจากประเทศเพื่อนบ้านมีราคาถูกกว่าน้ำมันปาล์มดิบไทย เกษตรกรของไทยเป็นเกษตรกรรายย่อย ยังขาดการบริหารจัดการและนโยบายที่มีประสิทธิภาพ ขณะนี้ทั้งมาเลเซียและอินโดนีเซียมีการทำสวนปาล์มแปลงขนาดใหญ่ผ่านการบริหารจัดการสวนที่ดี ทำให้โอกาสที่ประเทศไทยจะพัฒนาพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้แข่งขันกับมาเลเซียและอินโดนีเซียทำได้ยากขึ้น จึงจัดว่าว่าปาล์มน้ำมันของไทยเป็นสินค้าที่อยู่ในภาวะเสี่ยงเป็นอย่างยิ่ง หากมีการปรับลดภาษีเป็น 0% และเปิดให้มีการนำเข้าได้โดยเสรีนอกจากนี้อุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันปาล์มยังต้องการการปกป้องจากรัฐบาลด้วย

มันสำปะหลัง การเปิด AEC จะส่งผลทางด้านบวกกับสินค้าเกษตรอย่างมันสำปะหลังเพียงรายการเดียว เนื่องจากไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังได้มากที่สุดในอาเซียน โดยครองส่วนแบ่งตลาดมากกว่าประเทศคู่แข่งอย่างอินโดนีเซียค่อนข้างมาก ประกอบกับไทยมีต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังต่อไร่ต่ำกว่า

วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
มหาวิทยาลัยในอินโดนีเซียเกือบทั้งหมดมีการเรียนการสอนและการวิจัยงานทางด้านวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวในระดับบัณฑิตวิทยาลัย เนื่องจากงานทางด้านนี้มีความสำคัญขึ้นเป็นลำดับต่อตลาดการค้าสินค้าเกษตร ดังนั้น School of Life Sciences and Technology จากสถาบันเทคโนโลยีแห่ง Bandung (Institute Technogy Bandung : ITB) จึงกำลังจะเปิดหลักสูตร Postharvest Technology ในระดับปริญญาตรีขึ้นเป็นแห่งแรกในอินโดนีเซียในปี 2556 นอกจากนี้อินโดนีเซียยังมีจุดแข็งทางด้านการผลิตเครื่องมือเพื่อรองรับการปฏิบัติงานทางการเกษตรด้านต่าง ๆ เช่น ที่คณะวิศวกรรมเกษตรของมหาวิทยาลัยการเกษตรแห่ง Bogor (Institute Pertanian Bogor: IPB) มีการบูรณาการวิทยาการทางด้านวิศวกรรมเกษตรหลายด้านรวมทั้งทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวให้เข้ามาอยู่ด้วยกัน ทำให้รองรับการพัฒนาระบบโซ่อุปทานของการผลิตทางการเกษตรได้เป็นอย่างดี

จากการตรวจสอบตลาดขายพืชผลสดทางการเกษตรในอินโดนีเซีย พบว่าพืชหลาย ๆ ชนิดโดยเฉพาะผลไม้จากไทยเป็นที่นิยมของชาวอินโดนีเซีย ซึ่งผลไม้จากประเทศไทยได้รับความนิยมมากเนื่องมาจากมีคุณภาพดีและราคาไม่แพง ทำให้เกิดความคาดหวังพึงประสงค์ต่อชนิดสินค้า หรือ Brand Loyalty ถึงขนาดที่ว่าการที่จะให้ผลไม้ขายดีจะต้องติดฉลาก “Made from Bangkok” บนตัวผลิตผล ทำให้โอกาสเติบโตของตลาดผลไม้ไทยในอินโดนีเซียมีอนาคตที่ดี อย่างไรก็ตามอาจจะต้องศึกษาพฤติกรรมและประเมินความชอบในการบริโภคผลไม้แต่ละชนิดของประชาชนในประเทศคู่ค้าไว้ด้วย เช่น คนอินโดนีเซียชอบรับประทานทุเรียนสุกจัดที่มีเนื้อผลนิ่มค่อนข้างเละ กลิ่นฉุน ซึ่งเราสามารถพบได้ทั่วไปบนแผงขายทุเรียนในร้านข้างทาง

ประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ดำเนินการรวมตัวเพื่อปรับปรุงและจัดระบบความปลอดภัยทางด้านเกษตรและอาหารไว้รองรับ AEC ก่อนล่วงหน้าแล้ว โดยในปี 2547 อาเซียนได้จัดตั้งเครือข่ายกลางด้านความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (ASEAN Food Safety Network) ให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียนมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านความปลอดภัยของอาหาร และในปี 2549 อาเซียนได้ให้การรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของอาเซียนสำหรับผักและผลไม้สด (ASEAN Good Agricultural Practices for Fresh Fruit and Vegetables: ASEAN GAP) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับการผลิต การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ในอาเซียน เพื่อให้มั่นใจว่าผักและผลไม้ที่ผลิตได้ในอาเซียนมีความปลอดภัยในการรับประทานและมีคุณภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค จนถึงปัจจุบัน อาเซียนได้กำหนดมาตรฐานค่าสารพิษตกค้างสูงสุด (Maximum Residue Limits: MRL) ของอาเซียน สำหรับสา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
From January 1 to 10 national 2558 in Southeast Asia, Brunei, Burma, Cambodia, Indonesia, Laos, Malaysia with the Philippines, Thailand and Viet Nam to Singapore as ASEAN or ASEAN Economic Community Economic Community to provide economic benefits. Education as well as cultural and social exchange, share, which is expected to have the power to negotiate with trading partners. In addition, the import-export of ASEAN Nations, will be among the Liberal, except for certain sensitive products (Sensitive Lists) that each country may request a reduction in the import duty.The subject of agricultural scienceUniversity of Indonesia are right-handed, and the strengths of the applied technology/agricultural/Food/Agricultural Ecosystem Sciences and Engineering to make Indonesia a considerable agricultural and food. Open a AEC may affect many types of agricultural crops in Thailand, such as palm oil that Thailand must compete with Malaysia and Indonesia Indonesia as the dry coconut coconut world manufacturers. The child is the Philippines and Indonesia which is the world's top manufacturers. India, China and Sri Lanka from respectively (Department of export promotion, Ministry of Commerce, 2555) In the agricultural sector with the opening of free trade, since the year 2553 ... some of them are sensitive (Sensitive lists) will agree upon, such as Thailand, dry potatoes and coconut coffee Indonesia section. There is only rice and shrimp.Rice will make the AEC opening import tariff on rice of the ASEAN market is reduced to 0% and open export markets, rice, Thailand to Indonesia because Indonesia is more a lack of capacity, domestic needs, but in practice, country items, rice, Indonesia is on the list of items that have the highest sensitivity and the tax rate is between 30-40% of the price of rice, as well as the use of measures that are not in the import duty on rice. In addition, Thailand's rice still must compete in price with competitor countries in ASEAN countries such as Viet Nam, Cambodia and with great future potential, Myanmar, which is the cost of rice production under the country Thailand.ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของเกษตรกรของไทย น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ของไทยถือได้ว่ามีคุณภาพสูงเมื่อเทียบกับประเทศผู้ผลิตปาล์มน้ำมันและน้ำมันปาล์มรายอื่น ๆ เนื่องจากเป็นน้ำมันที่มีลักษณะใส ไม่มีตะกอนและไม่เป็นไข ในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลโดยองค์การคลังสินค้าได้มีการนำเข้าน้ำมันปาล์มจากต่างประเทศเข้ามาเป็นระยะๆ ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรชาวสวนปาล์มไทยอย่างชัดเจน เนื่องจากน้ำมันปาล์มดิบจากประเทศเพื่อนบ้านมีราคาถูกกว่าน้ำมันปาล์มดิบไทย เกษตรกรของไทยเป็นเกษตรกรรายย่อย ยังขาดการบริหารจัดการและนโยบายที่มีประสิทธิภาพ ขณะนี้ทั้งมาเลเซียและอินโดนีเซียมีการทำสวนปาล์มแปลงขนาดใหญ่ผ่านการบริหารจัดการสวนที่ดี ทำให้โอกาสที่ประเทศไทยจะพัฒนาพันธุ์ปาล์มน้ำมันให้แข่งขันกับมาเลเซียและอินโดนีเซียทำได้ยากขึ้น จึงจัดว่าว่าปาล์มน้ำมันของไทยเป็นสินค้าที่อยู่ในภาวะเสี่ยงเป็นอย่างยิ่ง หากมีการปรับลดภาษีเป็น 0% และเปิดให้มีการนำเข้าได้โดยเสรีนอกจากนี้อุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันปาล์มยังต้องการการปกป้องจากรัฐบาลด้วยTo open a AEC cassava will result in either the agricultural products, one tapioca because Thailand is the country that has the potential to produce and export as much cassava products in ASEAN. By the market-share than either competitor, Indonesia; With Thailand has cassava production costs lower farm.Postharvest scienceมหาวิทยาลัยในอินโดนีเซียเกือบทั้งหมดมีการเรียนการสอนและการวิจัยงานทางด้านวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวในระดับบัณฑิตวิทยาลัย เนื่องจากงานทางด้านนี้มีความสำคัญขึ้นเป็นลำดับต่อตลาดการค้าสินค้าเกษตร ดังนั้น School of Life Sciences and Technology จากสถาบันเทคโนโลยีแห่ง Bandung (Institute Technogy Bandung : ITB) จึงกำลังจะเปิดหลักสูตร Postharvest Technology ในระดับปริญญาตรีขึ้นเป็นแห่งแรกในอินโดนีเซียในปี 2556 นอกจากนี้อินโดนีเซียยังมีจุดแข็งทางด้านการผลิตเครื่องมือเพื่อรองรับการปฏิบัติงานทางการเกษตรด้านต่าง ๆ เช่น ที่คณะวิศวกรรมเกษตรของมหาวิทยาลัยการเกษตรแห่ง Bogor (Institute Pertanian Bogor: IPB) มีการบูรณาการวิทยาการทางด้านวิศวกรรมเกษตรหลายด้านรวมทั้งทางด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวให้เข้ามาอยู่ด้วยกัน ทำให้รองรับการพัฒนาระบบโซ่อุปทานของการผลิตทางการเกษตรได้เป็นอย่างดีจากการตรวจสอบตลาดขายพืชผลสดทางการเกษตรในอินโดนีเซีย พบว่าพืชหลาย ๆ ชนิดโดยเฉพาะผลไม้จากไทยเป็นที่นิยมของชาวอินโดนีเซีย ซึ่งผลไม้จากประเทศไทยได้รับความนิยมมากเนื่องมาจากมีคุณภาพดีและราคาไม่แพง ทำให้เกิดความคาดหวังพึงประสงค์ต่อชนิดสินค้า หรือ Brand Loyalty ถึงขนาดที่ว่าการที่จะให้ผลไม้ขายดีจะต้องติดฉลาก “Made from Bangkok” บนตัวผลิตผล ทำให้โอกาสเติบโตของตลาดผลไม้ไทยในอินโดนีเซียมีอนาคตที่ดี อย่างไรก็ตามอาจจะต้องศึกษาพฤติกรรมและประเมินความชอบในการบริโภคผลไม้แต่ละชนิดของประชาชนในประเทศคู่ค้าไว้ด้วย เช่น คนอินโดนีเซียชอบรับประทานทุเรียนสุกจัดที่มีเนื้อผลนิ่มค่อนข้างเละ กลิ่นฉุน ซึ่งเราสามารถพบได้ทั่วไปบนแผงขายทุเรียนในร้านข้างทางประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ดำเนินการรวมตัวเพื่อปรับปรุงและจัดระบบความปลอดภัยทางด้านเกษตรและอาหารไว้รองรับ AEC ก่อนล่วงหน้าแล้ว โดยในปี 2547 อาเซียนได้จัดตั้งเครือข่ายกลางด้านความปลอดภัยอาหารของอาเซียน (ASEAN Food Safety Network) ให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียนมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านความปลอดภัยของอาหาร และในปี 2549 อาเซียนได้ให้การรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของอาเซียนสำหรับผักและผลไม้สด (ASEAN Good Agricultural Practices for Fresh Fruit and Vegetables: ASEAN GAP) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับการผลิต การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ในอาเซียน เพื่อให้มั่นใจว่าผักและผลไม้ที่ผลิตได้ในอาเซียนมีความปลอดภัยในการรับประทานและมีคุณภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค จนถึงปัจจุบัน อาเซียนได้กำหนดมาตรฐานค่าสารพิษตกค้างสูงสุด (Maximum Residue Limits: MRL) ของอาเซียน สำหรับสา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Since the day 1 January 2558 on 10 nation in Southeast Asia consisting of Brunei, Indonesia, Cambodia, Laos, Myanmar. Malaysia, Philippines, Singapore, Vietnam and Thailand will be as economic community of ASEAN.Economic Community to economic benefits, education, as well as the exchange of culture and society together. Which is expected to make any power services with partners.Except for certain types of sensitive products (Sensitive Lists) each country may request not tax
.

science about agriculture.Many of the leading University of Indonesia has aptitude and strengths in the ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี agricultural / Ecosystem. Food Sciences / and Agricultural Engineering make Indonesia have basic skills in agriculture and food, the opening AEC.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: