การพัฒนาผู้เรียนตามความคิดของอุดมศึกษา ในอนาคตที่มุ่งความเป็นสากลควรมุ การแปล - การพัฒนาผู้เรียนตามความคิดของอุดมศึกษา ในอนาคตที่มุ่งความเป็นสากลควรมุ อังกฤษ วิธีการพูด

การพัฒนาผู้เรียนตามความคิดของอุดมศึ

การพัฒนาผู้เรียนตามความคิดของอุดมศึกษา ในอนาคตที่มุ่งความเป็นสากลควรมุ่งให้นักศึกษามีความสามารถ ในการใช้ภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาไทยอย่างน้อย 1 ภาษา (วิจิตร ศีรสะอ้าน, 2553) ซึ่งตรงกันข้ามกับพยาบาลไทยเป็นที่หนึ่งในกลุ่มอาชีพที่ขาดทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ พบจากงานวิจัยด้านสมรรถนะทางการพยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาจากคณะวิชาพยาบาลเกี่ยวกับสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตพยาบาลที่อยู่ในระดับปานกลางและน้อยคิดเป็นร้อยละ 30-50 % และเป็นสมรรถนะที่ได้รับการประเมินที่ต่ำที่สุดหากเทียบกับบัณฑิตจากคณะอื่น และยังพบอีกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนด้านสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับที่ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับสมรรถนะด้านอื่นๆ ของบัณฑิตพยาบาลเหล่านั้น (การติดตามสมรรถนะทางการพยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2547 สุภลักษณ์ ธานีรัตน์ และคณะ, 2550) นอกจากนี้ณัฏฐ์นรี ฤทธิรัตน และคณะ, 2557 ได้วิจัยสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มตัวอย่างกลุ่ม นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 สาขาแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และบัญชีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทั้งหมด จำนวน 50 คน พบว่า นักศึกษา 90% ที่มีคะแนนความสามารถด้านภาษาอังกฤษต่ำ ให้ความคิดเห็นว่า ความกลัวและความกังวล เป็นปัญหาใหญ่ เนื่องจากนักศึกษากลัวว่าคู่สนทนาจะไม่สามารถเข้าใจในสิ่งที่ตนเองพูด กลัวว่าตนเองจะพูดผิด กลัวจะใช้ไวยากรณ์ผิด ทำให้นักศึกษาไม่กล้าพูดภาษาอังกฤษ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่นักศึกษาไทยมีปัญหามากที่สุดทั้ง ๆ ที่ทักษะการพูดก็มีความสำคัญต่อนักศึกษาในประเทศไทยเป็นอย่างมาก (Tribolet, 2012; Sarkis, 2012) การศึกษาของ อดิศาและคณะ (2547) ชี้ให้เห็นสาเหตุและอุปสรรคในการพัฒนาทักษะการพูดของนักศึกษาไทย คือ จำนวนผู้เรียนในแต่ละชั้นเรียนมีมากเกินไป การขาดครูผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญ หรือเวลาที่ใช้ในการเรียนภาษาอังกฤษมีจำกัด และเวลาส่วนใหญ่ถูกใช้ในการสอนทักษะอื่นที่เห็นว่าจำเป็นกว่า เช่น การอ่าน จึงทำให้การฝึกฝนและการเรียนรู้ทักษะการพูดของผู้เรียนไม่ประสบผลสำเร็จ ผู้เรียนจึงไม่สามารถสื่อสารได้
จากหลักสูตรของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นปีพศ. 2549 พบว่านักศึกษาเรียนภาษาอังกฤษทั้งหมด 4 วิชา ดังนี้ 1) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) 2)ภาษาอังกฤษทางวิชาการ1 (English for Academic Purpose I (EAP I)) 3)ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2 (English for Academic Purpose II (EAP II)) และ 4) ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2 English for Academic Purpose II (EAP II) ซึ่งจากการสังเกตจากผู้นำสัมมนาเอง พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถ ฟัง และสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติหรือนักศึกษาต่างชาติได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การพัฒนาผู้เรียนตามความคิดของอุดมศึกษา ในอนาคตที่มุ่งความเป็นสากลควรมุ่งให้นักศึกษามีความสามารถ ในการใช้ภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาไทยอย่างน้อย 1 ภาษา (วิจิตร ศีรสะอ้าน, 2553) ซึ่งตรงกันข้ามกับพยาบาลไทยเป็นที่หนึ่งในกลุ่มอาชีพที่ขาดทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ พบจากงานวิจัยด้านสมรรถนะทางการพยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาจากคณะวิชาพยาบาลเกี่ยวกับสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตพยาบาลที่อยู่ในระดับปานกลางและน้อยคิดเป็นร้อยละ 30-50 % และเป็นสมรรถนะที่ได้รับการประเมินที่ต่ำที่สุดหากเทียบกับบัณฑิตจากคณะอื่น และยังพบอีกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนด้านสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับที่ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับสมรรถนะด้านอื่นๆ ของบัณฑิตพยาบาลเหล่านั้น (การติดตามสมรรถนะทางการพยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2547 สุภลักษณ์ ธานีรัตน์ และคณะ, 2550) นอกจากนี้ณัฏฐ์นรี ฤทธิรัตน และคณะ, 2557 ได้วิจัยสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มตัวอย่างกลุ่ม นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 สาขาแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และบัญชีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทั้งหมด จำนวน 50 คน พบว่า นักศึกษา 90% ที่มีคะแนนความสามารถด้านภาษาอังกฤษต่ำ ให้ความคิดเห็นว่า ความกลัวและความกังวล เป็นปัญหาใหญ่ เนื่องจากนักศึกษากลัวว่าคู่สนทนาจะไม่สามารถเข้าใจในสิ่งที่ตนเองพูด กลัวว่าตนเองจะพูดผิด กลัวจะใช้ไวยากรณ์ผิด ทำให้นักศึกษาไม่กล้าพูดภาษาอังกฤษ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่นักศึกษาไทยมีปัญหามากที่สุดทั้ง ๆ ที่ทักษะการพูดก็มีความสำคัญต่อนักศึกษาในประเทศไทยเป็นอย่างมาก (Tribolet, 2012; Sarkis, 2012) การศึกษาของ อดิศาและคณะ (2547) ชี้ให้เห็นสาเหตุและอุปสรรคในการพัฒนาทักษะการพูดของนักศึกษาไทย คือ จำนวนผู้เรียนในแต่ละชั้นเรียนมีมากเกินไป การขาดครูผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญ หรือเวลาที่ใช้ในการเรียนภาษาอังกฤษมีจำกัด และเวลาส่วนใหญ่ถูกใช้ในการสอนทักษะอื่นที่เห็นว่าจำเป็นกว่า เช่น การอ่าน จึงทำให้การฝึกฝนและการเรียนรู้ทักษะการพูดของผู้เรียนไม่ประสบผลสำเร็จ ผู้เรียนจึงไม่สามารถสื่อสารได้จากหลักสูตรของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นปีพศ. 2549 พบว่านักศึกษาเรียนภาษาอังกฤษทั้งหมด 4 วิชา ดังนี้ 1) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) 2)ภาษาอังกฤษทางวิชาการ1 (English for Academic Purpose I (EAP I)) 3)ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2 (English for Academic Purpose II (EAP II)) และ 4) ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2 English for Academic Purpose II (EAP II) ซึ่งจากการสังเกตจากผู้นำสัมมนาเอง พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถ ฟัง และสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติหรือนักศึกษาต่างชาติได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การพัฒนาผู้เรียนตามความคิดของอุดมศึกษา ในอนาคตที่มุ่งความเป็นสากลควรมุ่งให้นักศึกษามีความสามารถ ในการใช้ภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาไทยอย่างน้อย 1 ภาษา (วิจิตร ศีรสะอ้าน, 2553) ซึ่งตรงกันข้ามกับพยาบาลไทยเป็นที่หนึ่งในกลุ่มอาชีพที่ขาดทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ พบจากงานวิจัยด้านสมรรถนะทางการพยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาจากคณะวิชาพยาบาลเกี่ยวกับสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของบัณฑิตพยาบาลที่อยู่ในระดับปานกลางและน้อยคิดเป็นร้อยละ 30-50 % และเป็นสมรรถนะที่ได้รับการประเมินที่ต่ำที่สุดหากเทียบกับบัณฑิตจากคณะอื่น และยังพบอีกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนด้านสมรรถนะการใช้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับที่ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับสมรรถนะด้านอื่นๆ ของบัณฑิตพยาบาลเหล่านั้น (การติดตามสมรรถนะทางการพยาบาลของผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2547 สุภลักษณ์ ธานีรัตน์ และคณะ, 2550) นอกจากนี้ณัฏฐ์นรี ฤทธิรัตน และคณะ, 2557 ได้วิจัยสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มตัวอย่างกลุ่ม นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 สาขาแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และบัญชีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ทั้งหมด จำนวน 50 คน พบว่า นักศึกษา 90% ที่มีคะแนนความสามารถด้านภาษาอังกฤษต่ำ ให้ความคิดเห็นว่า ความกลัวและความกังวล เป็นปัญหาใหญ่ เนื่องจากนักศึกษากลัวว่าคู่สนทนาจะไม่สามารถเข้าใจในสิ่งที่ตนเองพูด กลัวว่าตนเองจะพูดผิด กลัวจะใช้ไวยากรณ์ผิด ทำให้นักศึกษาไม่กล้าพูดภาษาอังกฤษ ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่นักศึกษาไทยมีปัญหามากที่สุดทั้ง ๆ ที่ทักษะการพูดก็มีความสำคัญต่อนักศึกษาในประเทศไทยเป็นอย่างมาก (Tribolet, 2012; Sarkis, 2012) การศึกษาของ อดิศาและคณะ (2547) ชี้ให้เห็นสาเหตุและอุปสรรคในการพัฒนาทักษะการพูดของนักศึกษาไทย คือ จำนวนผู้เรียนในแต่ละชั้นเรียนมีมากเกินไป การขาดครูผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญ หรือเวลาที่ใช้ในการเรียนภาษาอังกฤษมีจำกัด และเวลาส่วนใหญ่ถูกใช้ในการสอนทักษะอื่นที่เห็นว่าจำเป็นกว่า เช่น การอ่าน จึงทำให้การฝึกฝนและการเรียนรู้ทักษะการพูดของผู้เรียนไม่ประสบผลสำเร็จ ผู้เรียนจึงไม่สามารถสื่อสารได้
จากหลักสูตรของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นปีพศ. 2549 พบว่านักศึกษาเรียนภาษาอังกฤษทั้งหมด 4 วิชา ดังนี้ 1) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) 2)ภาษาอังกฤษทางวิชาการ1 (English for Academic Purpose I (EAP I)) 3)ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2 (English for Academic Purpose II (EAP II)) และ 4) ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2 English for Academic Purpose II (EAP II) ซึ่งจากการสังเกตจากผู้นำสัมมนาเอง พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถ ฟัง และสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติหรือนักศึกษาต่างชาติได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The development of students based on the idea of higher education. In the future, aimed at internationalization should focus on students to have the ability. On the use of languages other than English language (at least 1 splendid, the making a decision2553) which is the opposite of Thai nurses is one of their skills and the ability to use English.30-50% and competencies assessed lowest compared with graduates from other faculties. It was found that the mean score of performance using English at low level when compared with the other performance(the track performance of nursing graduates in 2547 easy image Thani, D and board2550) also NAT gynecologist. And faculty, linear.2557 research interview students groups, students, 3 branch medicine, dentistry, nursing, engineering. And accounts, Prince of Songkla University, all of 50 people found that students.With the score ability of low English comments that fear and anxiety, is a problem. Because of the fear that people will not understand what their own say. Afraid that self is wrong, afraid to use grammar mistakes.English speaking skills are skills that Thai students had the most problems when speaking skills to the students in ก็มีความสำคัญ greatly. , (TriboletSarkis 2012,;2012) study of the degree and the Faculty of 2547 audition () point out the causes and obstacles in the development of speech skills of Thai students are number of students in each class are too. The lack of teachers with expertise.And time is mostly used in teaching skills other than that needed, such as reading, so the training and learning speaking skills of students do not succeed. Students can't communicate
.From the course of the Faculty of nursing beep.2549 revealed that the students learn English all 4 following subjects 1) English for communication (English for Communication) 2) English for academic purposes 1. (English for Academic Purpose I (EAP I) 3) English for academic purposes 2 (English for Academic Purpose II (EAP II)) and 4).2 English for Academic Purpose II (EAP II) which from the observation of the seminar. Found that most students can listen to and speak English with foreigners or foreign national student
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: