กะเหรี่ยง (KAREN)ลักษณะบุคคลกะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ ในประเทศไทยกะเหรี่ยงที การแปล - กะเหรี่ยง (KAREN)ลักษณะบุคคลกะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ ในประเทศไทยกะเหรี่ยงที อังกฤษ วิธีการพูด

กะเหรี่ยง (KAREN)ลักษณะบุคคลกะเหรี่

กะเหรี่ยง (KAREN)
ลักษณะบุคคลกะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ ในประเทศไทย

กะเหรี่ยงที่พบในประเทศไทยแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยตามลักษณะภาษาและความเป็นอยู่ได้ 4 กลุ่ม ได้แก่

กะเหรี่ยงสะกอ (Sgaw Karen )

คนไทยในภาคเหนือเรียกกะเหรี่ยงสะกอว่า “ยางขาว” นอกจากนี้ ยังมีคำอื่นที่ใช้เรียกกะเหรี่ยงสะกอ ได้แก่ “ยางกะเลอ ยางป่า ยางเปียง” กะเหรี่ยงสะกอเรียกตัวเองว่า “ปากะญอ” เป็นกะเหรี่ยงที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีจำนวนประชากรประมาณ 500,000 คน (ประวิตร โพธิอาศน์ 2527) อาศัยอยู่ในจังหวัดตาก จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นต้น

กะเหรี่ยงโป (Pwo Karen )

คนไทยในภาคเหนือเรียกกะเหรี่ยงโปว่า “ พล่อ “ หรือ “ โพล่ง ” บ้างก็เรียกว่า “ยางเด้าะแด้ ยางบ้าน “ กะเหรี่ยงโปมีจำนวนประชากรเป็นที่สองรองจากกะเหรี่ยงสะกอ คือประมาณ 70,000คน (ศูนย์วิจัยชาวเขา 2526) อาศัยอยู่แถบจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ลำปาง แพร่ ตาก อุทัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ (พจนารถ เสมอมิตร 2526) คนส่วนมากมักเข้าใจว่ากะเหรี่ยงสะกออาศัยอยู่เฉพาะทางภาคเหนือ และกะเหรี่ยงโปอาศัยอยู่เฉพาะทางภาคตะวันตกเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้วจะพบกะเหรี่ยงทั้งสองกลุ่มอยู่ในจังหวัดเดียวกัน แต่แยกหมู่บ้านไม่ปะปนกัน เช่น ในจังหวัดเชียงใหม่ มีทั้งกะเหรี่ยงสะกอและกะเหรี่ยงโป โดยกะเหรี่ยงสะกอมีมากที่อำเภอแม่แจ่ม และกะเหรี่ยงโปมีมากที่อำเภออมก๋อย นอกจากนี้ในจังหวัดลำพูนซึ่งอยู่ในภาคเหนือกลับมากะเหรี่ยงโปอาศัยอยู่หนาแน่น โดยเฉพาะที่อำเภอลี้ ทางภาคตะวันตกมีกะเหรี่ยงโปอาศัยอยู่หนาแน่นก็จริง แต่ก็พบกะเหรี่ยงสะกอที่จังหวัดกาญจนบุรีเช่นกัน (สุริยา รัตนกุล และคณะ 2529)

กะเหรี่ยงคะยา (Kayah Karen), แบร (Bre ) หรือ บเว (Bwe)

คนไทยภาคเหนือและไทยใหญ่เรียกเรียกกะเหรี่ยงคะยาว่า “ ยางแดง ” ตามการแต่งกายของหญิงที่แต่งงานแล้วซึ่งนิยมใส่เสื้อและนุ่งซิ่นซึ่งทอแซมด้วยสีแดง (สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการปฏิบัติการทางจิตวิทยาแห่งชาติ 2518)

การเรียกชื่อตามสีของเครื่องนุ่งห่มทำให้เกิดความใจผิด และเรียกกะเหรี่ยงโปว่า “ยางแดง” เช่นกัน เพราะมีการแต่งกายด้วยสีแดงในทำนองเดียวกัน นอกจานี้ก็ยังพบคำว่า “กะเหรี่ยงแดง” ใช้เรียกกะเหรี่ยงคะยาเช่นกัน กะเหรี่ยงคะยามีจำนวนประชากรประมาณ 1,500 คน (พจนารถ เสมอมิตร 2526) อาศัยอยู่ที่หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า หมู่บ้านห้วยเดื่อ และหมู่บ้านขุนห้วยเดื่อ จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สุริยา รัตนกุล 2531)

กะเหรี่ยงตองสู/ตองตู (Taungthu Karen) หรือปาโอ/พะโอ (Pa-O)

พม่าและไทยใหญ่เรียกชนกลุ่มนี้ว่า “ตองสู” ซึ่งหมายถึง “ชาวเขา” (พจนารถ เสมอมิตร 2526) ผู้หญิงกะเหรี่ยงตองสูใส่ชุดสีดำ จึงมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า “BlacK Karen” หรือ “กะเหรี่ยงดำ” กะเหรี่ยงตองสูมีจำนวนประชากรน้อยมากประมาณ 600 คน อาศัยอยู่ในไม่กี่หมู่บ้านในเขตอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สุริยา รัตนกุลและคณะ. ปี2529) *หมายเหตุ นอกเหนือจากกะเหรี่ยง 4 กลุ่มที่กล่าวไปแล้วนี้ ยังมีกะเหรี่ยงกลุ่มเล็กๆ ที่เพิ่งเข้ามาอยู่ในประเทศไทย และเป็นที่รู้จักกันดี คือ ปาดอง หรือ กะเหรี่ยงคอยาว และล่าสุดที่ตามหลังปาดองมามีกะยอ หรือ กะเหรี่ยงหูยาว ในงานชิ้นนี้ จะกล่าวเฉพาะกะเหรี่ยงสะกอซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Karen (KAREN)How many Thai people in the group, KarenKaren found in Thai are divided into subgroups based on the language style and well-being. Group 4:Karen (Sgaw Karen) sakoThai people in the northern region known as the "white" tires, sako Karen also has a different call Karen sako: "rubber rubber rubber forest, Le piano," Karen said, "sako calls himself" yo PaKa is the country's largest Karen Thai. There are a number of population of 500000 people (prawit Phot at 2527 (1984)) live in the province of Tak province, Mae Hong Son, Chiang Mai, Chiang Rai, Kanchanaburi, Ratchaburi province, etc.-Karen (Pwo Karen)Thai people in the northern region called Karen, that "they" broke "or" phlo is called "Yang do dae. Tire home "Karen, there is population is second from Karen sako is about 70, 000 people (tribal Research Centre 2526 (1983)) Chiang Mai, Mae Hong Son, Chiang Rai live Lampang lamphun bar, Lampang, phrae phetchaburi, Ratchaburi, Kanchanaburi, Tak and uthai Thani prachuap khiri Khan (unavailable lookin.Always committed to the most people friendly) 2526 (1983) understand that Karen sako lived only in the North, and Karen, lived only in Western region only, but the fact is I found Karen in the same province, two separate villages but don't mingle like Chiang Mai m.Both Karen sako and Karen, by Karen sako has as much as Mae chaem district and Karen, there is so much that is koi-district. In addition, in the province of lamphun, which is located in the North come back Karen, living in crowded, especially the Western region refugee district is Karen, living in crowded, but they Kanchanaburi that sako Karen found as well (Suriya and Ratana of 2529 (1986))Karen Ka ya (Kayah Karen), and power (Bre), or bawe (Bwe)Northern Thai people and Thai President called call Karen Ka ya as "red rubber" on a woman's dress at a wedding, which is popular to wear a skirt and wears hand-woven with red (Secretary Office Board of Directors of the national psychological operations 2518 (1975))The call by the color of the apparel will cause errors and Karen, which means "red tube" as well because it has a red dress with a similarly. Moreover, it also found the term "Karen red," as well as drug use and Karen call. There are a number of drugs and Karen population of 1500 people (rattanapojanard. 2526 (1983) friendly) lived at the village of Huay Tiger town. The village of Huay Huay Dua Dua, a mountain village, and Mae Hong Son province (Suriya Ratana gulls 2531 (1988))Karen Tong suites/Tong TU PA-o (Taungthu Karen) or/PA-o (Pa-O)พม่าและไทยใหญ่เรียกชนกลุ่มนี้ว่า “ตองสู” ซึ่งหมายถึง “ชาวเขา” (พจนารถ เสมอมิตร 2526) ผู้หญิงกะเหรี่ยงตองสูใส่ชุดสีดำ จึงมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า “BlacK Karen” หรือ “กะเหรี่ยงดำ” กะเหรี่ยงตองสูมีจำนวนประชากรน้อยมากประมาณ 600 คน อาศัยอยู่ในไม่กี่หมู่บ้านในเขตอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สุริยา รัตนกุลและคณะ. ปี2529) *หมายเหตุ นอกเหนือจากกะเหรี่ยง 4 กลุ่มที่กล่าวไปแล้วนี้ ยังมีกะเหรี่ยงกลุ่มเล็กๆ ที่เพิ่งเข้ามาอยู่ในประเทศไทย และเป็นที่รู้จักกันดี คือ ปาดอง หรือ กะเหรี่ยงคอยาว และล่าสุดที่ตามหลังปาดองมามีกะยอ หรือ กะเหรี่ยงหูยาว ในงานชิ้นนี้ จะกล่าวเฉพาะกะเหรี่ยงสะกอซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
กะเหรี่ยง (KAREN)
ลักษณะบุคคลกะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ ในประเทศไทย

กะเหรี่ยงที่พบในประเทศไทยแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยตามลักษณะภาษาและความเป็นอยู่ได้ 4 กลุ่ม ได้แก่

กะเหรี่ยงสะกอ (Sgaw Karen )

คนไทยในภาคเหนือเรียกกะเหรี่ยงสะกอว่า “ยางขาว” นอกจากนี้ ยังมีคำอื่นที่ใช้เรียกกะเหรี่ยงสะกอ ได้แก่ “ยางกะเลอ ยางป่า ยางเปียง” กะเหรี่ยงสะกอเรียกตัวเองว่า “ปากะญอ” เป็นกะเหรี่ยงที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีจำนวนประชากรประมาณ 500,000 คน (ประวิตร โพธิอาศน์ 2527) อาศัยอยู่ในจังหวัดตาก จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นต้น

กะเหรี่ยงโป (Pwo Karen )

คนไทยในภาคเหนือเรียกกะเหรี่ยงโปว่า “ พล่อ “ หรือ “ โพล่ง ” บ้างก็เรียกว่า “ยางเด้าะแด้ ยางบ้าน “ กะเหรี่ยงโปมีจำนวนประชากรเป็นที่สองรองจากกะเหรี่ยงสะกอ คือประมาณ 70,000คน (ศูนย์วิจัยชาวเขา 2526) อาศัยอยู่แถบจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ลำปาง แพร่ ตาก อุทัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ (พจนารถ เสมอมิตร 2526) คนส่วนมากมักเข้าใจว่ากะเหรี่ยงสะกออาศัยอยู่เฉพาะทางภาคเหนือ และกะเหรี่ยงโปอาศัยอยู่เฉพาะทางภาคตะวันตกเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้วจะพบกะเหรี่ยงทั้งสองกลุ่มอยู่ในจังหวัดเดียวกัน แต่แยกหมู่บ้านไม่ปะปนกัน เช่น ในจังหวัดเชียงใหม่ มีทั้งกะเหรี่ยงสะกอและกะเหรี่ยงโป โดยกะเหรี่ยงสะกอมีมากที่อำเภอแม่แจ่ม และกะเหรี่ยงโปมีมากที่อำเภออมก๋อย นอกจากนี้ในจังหวัดลำพูนซึ่งอยู่ในภาคเหนือกลับมากะเหรี่ยงโปอาศัยอยู่หนาแน่น โดยเฉพาะที่อำเภอลี้ ทางภาคตะวันตกมีกะเหรี่ยงโปอาศัยอยู่หนาแน่นก็จริง แต่ก็พบกะเหรี่ยงสะกอที่จังหวัดกาญจนบุรีเช่นกัน (สุริยา รัตนกุล และคณะ 2529)

กะเหรี่ยงคะยา (Kayah Karen), แบร (Bre ) หรือ บเว (Bwe)

คนไทยภาคเหนือและไทยใหญ่เรียกเรียกกะเหรี่ยงคะยาว่า “ ยางแดง ” ตามการแต่งกายของหญิงที่แต่งงานแล้วซึ่งนิยมใส่เสื้อและนุ่งซิ่นซึ่งทอแซมด้วยสีแดง (สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการปฏิบัติการทางจิตวิทยาแห่งชาติ 2518)

การเรียกชื่อตามสีของเครื่องนุ่งห่มทำให้เกิดความใจผิด และเรียกกะเหรี่ยงโปว่า “ยางแดง” เช่นกัน เพราะมีการแต่งกายด้วยสีแดงในทำนองเดียวกัน นอกจานี้ก็ยังพบคำว่า “กะเหรี่ยงแดง” ใช้เรียกกะเหรี่ยงคะยาเช่นกัน กะเหรี่ยงคะยามีจำนวนประชากรประมาณ 1,500 คน (พจนารถ เสมอมิตร 2526) อาศัยอยู่ที่หมู่บ้านห้วยเสือเฒ่า หมู่บ้านห้วยเดื่อ และหมู่บ้านขุนห้วยเดื่อ จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สุริยา รัตนกุล 2531)

กะเหรี่ยงตองสู/ตองตู (Taungthu Karen) หรือปาโอ/พะโอ (Pa-O)

พม่าและไทยใหญ่เรียกชนกลุ่มนี้ว่า “ตองสู” ซึ่งหมายถึง “ชาวเขา” (พจนารถ เสมอมิตร 2526) ผู้หญิงกะเหรี่ยงตองสูใส่ชุดสีดำ จึงมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า “BlacK Karen” หรือ “กะเหรี่ยงดำ” กะเหรี่ยงตองสูมีจำนวนประชากรน้อยมากประมาณ 600 คน อาศัยอยู่ในไม่กี่หมู่บ้านในเขตอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (สุริยา รัตนกุลและคณะ. ปี2529) *หมายเหตุ นอกเหนือจากกะเหรี่ยง 4 กลุ่มที่กล่าวไปแล้วนี้ ยังมีกะเหรี่ยงกลุ่มเล็กๆ ที่เพิ่งเข้ามาอยู่ในประเทศไทย และเป็นที่รู้จักกันดี คือ ปาดอง หรือ กะเหรี่ยงคอยาว และล่าสุดที่ตามหลังปาดองมามีกะยอ หรือ กะเหรี่ยงหูยาว ในงานชิ้นนี้ จะกล่าวเฉพาะกะเหรี่ยงสะกอซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Karen (KAREN)
characteristic Karen groups. In

Karen found in divided into subgroups according to the characteristics of language and ความเป็นอยู่ได้ 4 groups, including

Sgaw Karen. (Sgaw Karen)

.People in the North called Sgaw Karen that "church" is also another word used to refer to Karen Sgaw including "rubber with Le rubber forest, yangpyeong." Sgaw Karen calling itself "mouth. 5." the largest Karen500.000 (Prawit Bodhi this inn 2527) lived in Tak Province, Mae Hong Son, Chiang Mai Province, Chiang Rai province Kanchanaburi province. Ratchaburi Province, etc.

Karen (Pwo Karen)

.People in the North called Karen โปว่า "up to lure", or "broke", some called "Yang discharge. DAE Yang home" Karen population is second Sgaw Karen. , is about 70000 (Research Center 2526 tribe live bar. Mai Lamphun, Mae Hong Son, Lampang, Lampang, spread, Tak, Uthai Thani, Kanchanaburi Ratchaburi, Phetchaburi and Prachuap Khiri Khan (profession, always friendly 2526).Karen live and the West. But as a matter of fact will find Karen both groups in the same province. But separate Village Art mix, such as in Chiang Mai. The Sgaw Karen and Karen Po.Karen and have much omkoi district. Also in the province, which is in the North return Karen live density, especially at Li District. Occidental is Karen live density is true.(sun ratanakul and faculty of 2529)
.
Karen kayah (Kayah Karen), Barry (Bre) or BWE (Bwe)

.The northern and Western Shan call Karen. "Red rubber." according to the dressing of a married woman who is wearing a shirt and wore a popular resin which are woven Sam with red. Office of the Secretary of the board of the psychological laboratory (National 2518)

.Nomenclature according to the color of the clothing was wrong and called Karen โปว่า "rubber แดง” as well, because there is a dress with a red likewise. Furthermore, it also found the word "partition" called Karen Western as well.1.500 (profession, always friendly 2526) at the village of Huai old Tiger Village Huai area and the บ้านขุ Huay Dua in Mae Hong Son (sun ratanakul 2531)

Karen Denon / Tong Tu (Taungthu Karen) or Pao / PA (Pa-O)

.Myanmar and Thailand called minorities that "the Denon" which means "hill" (profession, always friendly 2526) Karen woman Denon wearing black. It has a name in English. "BlacK Karen" or "Karen black."600 people live in a few villages in the District, Mae Hong Son (Suriya ratanakul, and คณะ.Years 2529) * note, in addition to Karen 4 group said this is Karen small groups. That just came in, and is well known for is cut, or long-necked Karen and last behind padung come till.In this piece, it is said only the biggest groups. The Sgaw Karen
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: