วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรม การแปล - วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรม อังกฤษ วิธีการพูด

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิ

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร



วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (/พฺระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คฺลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นวัดสำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย จัดเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลในรัชกาลที่ 1 ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโก ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม พ.ศ. 2551 และวันที่ 16 มิถุนายน 2554 ทางยูเนสโก ได้ขึ้นทะเบียนจารึกวัดโพธิ์จำนวน 1,440 ชิ้น เป็นมรดกความทรงจำโลก ในทะเบียนนานาชาติ


วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารถือได้ว่าเป็นวัดที่มีพระเจดีย์มากที่สุดในประเทศไทย โดยมีจำนวนประมาณ 99 องค์ พระเจดีย์ที่สำคัญ คือ พระมหาเจดีย์สี่รัชกาล ซึ่งเป็นพระมหาเจดีย์ประจำพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามตามประวัติสร้างมาตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยา แต่ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการสร้าง เดิมเรียกว่า "วัดโพธาราม" หรือ "วัดโพธิ์" ได้ถูกยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงในสมัยกรุงธนบุรี ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดนี้ใหม่ใน พ.ศ. 2331 โดยทรงสร้างพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหาร ตลอดจนบูรณะของเดิม เมื่อแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2344ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส" เป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พิธีราชาภิเษกของพระนโรดมที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
นับจากนั้นวัดพระเชตุพนได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้โปรดเกล้าฯ ให้จารึกสรรพตำราต่าง ๆ ลงบนแผ่นหินอ่อนประดิษฐ์ไว้ตามศาลารายต่าง ๆ ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แก้สร้อยนามพระอารามว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร" และภายในพระอารามยังได้เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกของพระนโรดม โดยนิตินัย ก่อนที่จะมีพิธีราชาภิเษกอีกครั้งที่กรุงพนมเปญ โดยพฤตินัย
พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทุกพระองค์ทรงถือว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นพระอารามหลวงที่มีความสำคัญมาก และทรงถือเป็นพระราชประเพณี ที่จะทรงบูรณะซ่อมแซมวัดนี้ทุกรัชกาล นอกจากนี้ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามยังเป็นเสมือนมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย เพราะเป็นแหล่งรวบรวมวิชาความรู้ด้านต่าง ๆ ทั้งประวัติศาสตร์ วรรณกรรม และการแพทย์ นามวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามนี้ ปรากฏในประกาศสมัยรัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2411 ว่า "วัดนี้แม้จะมีนามพระราชทานมาตั้งแต่รัชกาลที่ 1 แต่ชื่อพระราชทานมีผู้เรียกแต่อยู่ในพระราชวัง คนยังเรียกว่าวัดโพธิ์กันทั้งแผ่นดิน" และมีพระราชดำริว่า "ชื่อพระราชทานเป็นชื่อตั้งไม่ปิดไม่แน่นจะคิดแปลงใหม่เห็นจะไม่ชนะ

วัดเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการสร้าง เดิมเรียกว่า วัดโพธาราม หรือวัดโพธิ์ ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงในสมัยธนบุรี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดนี้ใหม่ใน พ.ศ. ๒๓๓๑ โดยสร้างพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหาร ตลอดจนบูรณะของเดิม เมื่อเสร็จใน พ.ศ. ๒๓๔๔ โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส" เป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช วัดพระเชตุพนฯ ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้โปรดเกล้าฯ ให้จารึกสรรพตำราต่างๆ ลงบนแผ่นหินอ่อนประดิษฐานไว้ตามศาลารายต่างๆ ในรัชสมัย

เขตติดต่อ



พระอารามหลวงแห่งนี้มีเนื้อที่ ๕๐ ไร่ ๓๘ ตารางว่า ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของพระบรมมหาราชวัง
ทิศเหนือ จดถนนท้ายวัง
ทิศตะวันออก จดถนนสนามไชย
ทิศใต้ จดถนนเศรษฐการ
ทิศตะวันตก จดถนนมหาราช
















มีถนนเชตุพนขนาบด้วยกำแพงสีขาวแบ่งเขตพุทธาวาสและสังฆาวาส


สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๓๒๕ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรงสร้างพระบรมมหาราชวังขึ้นใหม่ มีวัดอยู่ในเขตใกล้ชิดพระราชฐาน ๒ วัด คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุ) และวัดโพธาราม จึงทรงแบ่งปันการบูรณปฏิสังขรณ์วัดทั้งสองนี้กับสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท(วังหน้า) พระองค์ละวัด คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงรับปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม ส่วนสมเด็จพระอนุชาธิราชกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาททรงรับปฏิสังขรณ์วัดสลัก ด้วยเหตุนี้จึงถือกันว่า วัดพระเชตุพนฯ เป็นวัดของฝ่ายวังหลวง วัดมหาธาตุเป็นวัดของฝ่ายวังหน้าแต่นั้นมา
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ทรงสร้างวัดโพธารามใหม่ในที่เดิม เมื่อราวปี พ.ศ. ๒๓๓๒ใช้เวลาก่อสร้างนานถึงกว่า ๗ ปี และทรงพระราชทานนามวัดโพธารามเสียใหม่ว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส" ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงเปลี่ยนสร้อยนามวัดเสียใหม่ว่า"วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม"
พระราชกรณียกิจที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของรัชกาลที่ ๑ เกี่ยวกับการสร้างและสถาปนาพระอารามแห่งนี้คือ โปรดให้อัญเชิญพระพุทธรูปสมัยต่างๆ ซึ่งมีหลายปางจำนวนมากกว่า ๑,๐๐๐ องค์ จากวัดร้างในหัวเมืองทางภาคเหนือ เช่น สุโขทัย พิษณุโลก ทางภาคกลาง เช่น อู่ทอง สุพรรณบุรีลพบุรี เป็นต้น พระพุทธรูปเหล่านี้ที่สมบูรณ์ก็มี ที่ชำรุดบางส่วนก็มี แล้วให้ช่างต่อเติมเสริมแต่งซ่อมให้สมบูรณ์ ประดิษฐานไว้ณ ระเบียงพระอุโบสถทั้งชั้นนอกและชั้นใน ในวิหารทิศทั้ง ๔ แห่งวิหารคดและระเบียงพระมหาเจดีย์ เป็นต้น
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงเห็นว่า วัดพระเชตุพนฯ อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรม
มาก จึงโปรดฯให้บูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ พร้อมทั้งสร้างปูชนียวัตถุและปูชนียสถานเพิ่มเติม และขยายอาคารบางหลังให้ใหญ่ขึ้นเพราะทรงมีพระประสงค์ที่จะทำนุบำรุงพระอารามนี้ให้รุ่งเรืองสุดยอด เสมือนหนึ่งกรุงศรีอยุธยาที่รุ่งเรื่องด้วยวัดวาอารามที่สวยงามสง่าจำนวนมากประดับพระนครมาแล้ว นายช่างทุกปร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Wat Phra RAM class do monkey mates phonwi comments: tallest. Wat Phra RAM class do monkey mates phonwi comments: tallest. (/Phra-shade-TU-50 staff-video-Mon-monkey-khla-RAM/) or one of the important temple Wat Pho in Thai. A Royal Monastery document class type: tallest and is measured in the reign of King Rama v's to 1 compared to the country's first University. Because many major department stores as well as a twig to inscribe and UNESCO have been registered as world memory heritage of the Asia-Pacific region. June 16, 2011 through March and 2551 (2008) UNESCO has registered a number of pieces of Wat Pho inscriptions 1440 world memory heritage. In the international register. Wat Phra RAM class do event: tallest phonwi monkey mates can be considered as a measure that contains most of the pagoda in Thai. There are a number of important elements for approximately 99 pagoda stupa is a stupa, which is the reign of the fourth annual great Buddhist King chulaloke sky. His Majesty King Rama His Majesty Rama ride and King Mongkut Rama Wat Phra phonwi TU RAM class do monkey mates based on a history created since Ayutthaya time but no evidence about the original creation called "Wat photharam" or "Wat Pho" was raised as a Royal Monastery in Thonburi. Times to the reign of King Buddha FA chulaloke Church established this temple in the temple built by 2331 (1788) His balcony. The temple, as well as the restoration of the original. When completed in 2344 (1801) has graciously granted the name "Temple of the monkey to do phonwi comments resort class mates's" his Majesty King Rama's temple Buddha FA chulaloke.Coronation of King TU phonwi narodom Sheri Temple monkey mates class RAM: tallest.Since then, Wat Phra phondai comments do get maintained big time. In the reign King Rama seating and Church inscriptions in various textbooks Department on artificial marble sheets as many times salarai to King Mongkut's reign of his Majesty King Bhumibol has graciously given to resolve the name of the necklace of the monasteries as "Wat Phra RAM class do event: tallest phonwi monkey mates" and inside the monastery was also used as the place of Coronation narodom by legal sense before they are once again at the coronation Phnom Penh by factual sense.The King in the Chakri dynasty, all he has to do is Wat Phra RAM class mates phonwi Spider-man event is a Royal Monastery that is very important, and he is believed to be a Royal tradition that will reconstruct this temple during his reign in every repair. In addition, Wat Phra RAM class do event phonwi monkey mates is also the first Thai University virtual. It is a collection of various knowledge both historical literature and medicine last name Wat Phra RAM class do this monkey mates phonwi comments. The announcement appeared in the reign of this WAT 2411 (1868) 4 despite nominally granted since the reign of King Rama v Royal name caller, but 1 there but in the forbidden city. People also called Wat Pho all the land "and that" the name is set to give no new changes will not close tightly will not win. Sheri Temple monkey mates phonwi comments: tallest ancient temple RAM-class built in the Ayutthaya period. The evidence does not appear on original creation called Wat Pho or WAT photharam. Raised as a Royal Monastery in Thonburi. In the reign of King Buddha FA chulaloke Church established this temple in the temple built by 2331 (1788) His balcony. The temple, as well as the restoration of the original. When completed in 2344 (1801) Majesty the name "Temple of the monkey to do phonwi comments resort class mates's" his Majesty King Rama's temple Buddha FA chulaloke. Sheri temple event phon have been maintained in large reign his Majesty Rama seating and Church Department of textbooks on the inscription plate, marble pedestal, according to salarai, in the reign. County contact Royal Monastery featuring 50 Rai space table 38 that lies to the South of the Royal Palace.North. Note the road end of the Palace.East. Take Airport Road, ChaiSouth Take the saraset road.West Note the Maharaj roadSheri Street with white walls with phonkhanap comments delimited phutthawat and sangkhawat. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๓๒๕ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรงสร้างพระบรมมหาราชวังขึ้นใหม่ มีวัดอยู่ในเขตใกล้ชิดพระราชฐาน ๒ วัด คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุ) และวัดโพธาราม จึงทรงแบ่งปันการบูรณปฏิสังขรณ์วัดทั้งสองนี้กับสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท(วังหน้า) พระองค์ละวัด คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงรับปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม ส่วนสมเด็จพระอนุชาธิราชกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาททรงรับปฏิสังขรณ์วัดสลัก ด้วยเหตุนี้จึงถือกันว่า วัดพระเชตุพนฯ เป็นวัดของฝ่ายวังหลวง วัดมหาธาตุเป็นวัดของฝ่ายวังหน้าแต่นั้นมา Blue Buddha King chulaloke The reign of the new temple, built in 1 original photharam. When c. 2332 (1789) spent over 7 years to construct and was granted a new measure that last photharam "Wat Phra phonwi monkey mates comments resort Jeju class ..." Later, in the reign of 4 new waste measures changed name necklace as the "Temple of the monkey phonwi TU RAM class do they want to go," he said. One of the more important gives reign 1 about creating and established this monastery is a modern Buddha Maitreya, which have many more Pang 1, 0. Elements from the build in the northern towns such as Sukhothai, Phitsanulok, LOP buri, suphan buri and Central u-thong, etc. These Buddha are complete, some already have malfunctioning, the repair decoration accessories to augment technicians complete all temple terrace on a pedestal at the top and underwear in all 4 directions Cathedral's cloister and the stupa terrace etc. Later in the reign King seated 1911 · The reign of the 3 he saw that temple of the Jeju event phon in disrepair.Very large well maintained prot to create additional objects and Sajjan Sajjan points and extending some back building larger because he wants to keep up this monastery, one of the most glorious Dawn's virtual dating back to Ayutthaya, the ancient capital with many elegant, beautiful decor, and Phra Nakhon. Mr. mechanic all agro
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร



วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (/พฺระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คฺลา-ราม/) หรือ วัดโพธิ์ เป็นวัดสำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย จัดเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และเป็นวัดประจำรัชกาลในรัชกาลที่ 1 ทั้งยังเปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง และทางยูเนสโก ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำโลกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม พ.ศ. 2551 และวันที่ 16 มิถุนายน 2554 ทางยูเนสโก ได้ขึ้นทะเบียนจารึกวัดโพธิ์จำนวน 1,440 ชิ้น เป็นมรดกความทรงจำโลก ในทะเบียนนานาชาติ


วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารถือได้ว่าเป็นวัดที่มีพระเจดีย์มากที่สุดในประเทศไทย โดยมีจำนวนประมาณ 99 องค์ พระเจดีย์ที่สำคัญ คือ พระมหาเจดีย์สี่รัชกาล ซึ่งเป็นพระมหาเจดีย์ประจำพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามตามประวัติสร้างมาตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยา แต่ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการสร้าง เดิมเรียกว่า "วัดโพธาราม" หรือ "วัดโพธิ์" ได้ถูกยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงในสมัยกรุงธนบุรี ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดนี้ใหม่ใน พ.ศ. 2331 โดยทรงสร้างพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหาร ตลอดจนบูรณะของเดิม เมื่อแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2344ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส" เป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พิธีราชาภิเษกของพระนโรดมที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
นับจากนั้นวัดพระเชตุพนได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้โปรดเกล้าฯ ให้จารึกสรรพตำราต่าง ๆ ลงบนแผ่นหินอ่อนประดิษฐ์ไว้ตามศาลารายต่าง ๆ ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แก้สร้อยนามพระอารามว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร" และภายในพระอารามยังได้เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกของพระนโรดม โดยนิตินัย ก่อนที่จะมีพิธีราชาภิเษกอีกครั้งที่กรุงพนมเปญ โดยพฤตินัย
พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทุกพระองค์ทรงถือว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นพระอารามหลวงที่มีความสำคัญมาก และทรงถือเป็นพระราชประเพณี ที่จะทรงบูรณะซ่อมแซมวัดนี้ทุกรัชกาล นอกจากนี้ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามยังเป็นเสมือนมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย เพราะเป็นแหล่งรวบรวมวิชาความรู้ด้านต่าง ๆ ทั้งประวัติศาสตร์ วรรณกรรม และการแพทย์ นามวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามนี้ ปรากฏในประกาศสมัยรัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2411 ว่า "วัดนี้แม้จะมีนามพระราชทานมาตั้งแต่รัชกาลที่ 1 แต่ชื่อพระราชทานมีผู้เรียกแต่อยู่ในพระราชวัง คนยังเรียกว่าวัดโพธิ์กันทั้งแผ่นดิน" และมีพระราชดำริว่า "ชื่อพระราชทานเป็นชื่อตั้งไม่ปิดไม่แน่นจะคิดแปลงใหม่เห็นจะไม่ชนะ

วัดเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการสร้าง เดิมเรียกว่า วัดโพธาราม หรือวัดโพธิ์ ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงในสมัยธนบุรี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดนี้ใหม่ใน พ.ศ. ๒๓๓๑ โดยสร้างพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหาร ตลอดจนบูรณะของเดิม เมื่อเสร็จใน พ.ศ. ๒๓๔๔ โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส" เป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช วัดพระเชตุพนฯ ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และได้โปรดเกล้าฯ ให้จารึกสรรพตำราต่างๆ ลงบนแผ่นหินอ่อนประดิษฐานไว้ตามศาลารายต่างๆ ในรัชสมัย

เขตติดต่อ



พระอารามหลวงแห่งนี้มีเนื้อที่ ๕๐ ไร่ ๓๘ ตารางว่า ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของพระบรมมหาราชวัง
ทิศเหนือ จดถนนท้ายวัง
ทิศตะวันออก จดถนนสนามไชย
ทิศใต้ จดถนนเศรษฐการ
ทิศตะวันตก จดถนนมหาราช
















มีถนนเชตุพนขนาบด้วยกำแพงสีขาวแบ่งเขตพุทธาวาสและสังฆาวาส


สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๓๒๕ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรงสร้างพระบรมมหาราชวังขึ้นใหม่ มีวัดอยู่ในเขตใกล้ชิดพระราชฐาน ๒ วัด คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุ) และวัดโพธาราม จึงทรงแบ่งปันการบูรณปฏิสังขรณ์วัดทั้งสองนี้กับสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท(วังหน้า) พระองค์ละวัด คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงรับปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม ส่วนสมเด็จพระอนุชาธิราชกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาททรงรับปฏิสังขรณ์วัดสลัก ด้วยเหตุนี้จึงถือกันว่า วัดพระเชตุพนฯ เป็นวัดของฝ่ายวังหลวง วัดมหาธาตุเป็นวัดของฝ่ายวังหน้าแต่นั้นมา
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ทรงสร้างวัดโพธารามใหม่ในที่เดิม เมื่อราวปี พ.ศ. ๒๓๓๒ใช้เวลาก่อสร้างนานถึงกว่า ๗ ปี และทรงพระราชทานนามวัดโพธารามเสียใหม่ว่า "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส" ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงเปลี่ยนสร้อยนามวัดเสียใหม่ว่า"วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม"
พระราชกรณียกิจที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของรัชกาลที่ ๑ เกี่ยวกับการสร้างและสถาปนาพระอารามแห่งนี้คือ โปรดให้อัญเชิญพระพุทธรูปสมัยต่างๆ ซึ่งมีหลายปางจำนวนมากกว่า ๑,๐๐๐ องค์ จากวัดร้างในหัวเมืองทางภาคเหนือ เช่น สุโขทัย พิษณุโลก ทางภาคกลาง เช่น อู่ทอง สุพรรณบุรีลพบุรี เป็นต้น พระพุทธรูปเหล่านี้ที่สมบูรณ์ก็มี ที่ชำรุดบางส่วนก็มี แล้วให้ช่างต่อเติมเสริมแต่งซ่อมให้สมบูรณ์ ประดิษฐานไว้ณ ระเบียงพระอุโบสถทั้งชั้นนอกและชั้นใน ในวิหารทิศทั้ง ๔ แห่งวิหารคดและระเบียงพระมหาเจดีย์ เป็นต้น
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงเห็นว่า วัดพระเชตุพนฯ อยู่ในสภาพที่ทรุดโทรม
มาก จึงโปรดฯให้บูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ พร้อมทั้งสร้างปูชนียวัตถุและปูชนียสถานเพิ่มเติม และขยายอาคารบางหลังให้ใหญ่ขึ้นเพราะทรงมีพระประสงค์ที่จะทำนุบำรุงพระอารามนี้ให้รุ่งเรืองสุดยอด เสมือนหนึ่งกรุงศรีอยุธยาที่รุ่งเรื่องด้วยวัดวาอารามที่สวยงามสง่าจำนวนมากประดับพระนครมาแล้ว นายช่างทุกปร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ให้สถาปนาวัดนี้ใหม่ใน พ.ศ. 2331 โดยทรงสร้างพระอุโบสถ พระระเบียง พระวิหาร ตลอดจนบูรณะของเดิม เมื่อแล้วเสร็จใน พ.ศ.1 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามว่า " วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาสเป็นวัดประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพิธีราชาภิเษกของพระนโรดมที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

"Linux distributions



.Linux distributions. (/ so the Chad - events - พน- simple - mon - mang - คฺ La - RAM /) or wat Po temple is one of the important parts. A royal temple architecture ชนิดราชวรมหาวิหาร and วัดประจำรัชกาล 1 in thi.นับจากนั้นวัดพระเชตุพนได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและได้โปรดเกล้าฯให้จารึกสรรพตำราต่างจะไม่มีลงบนแผ่นหินอ่อนประดิษฐ์ไว้ตามศาลารายต่างBecause it is the inscription vaccinator several branches and the UNESCO heritage registered as a memory จำโลก of the Asia-Pacific region. MarchLinux distributions can be considered as measured with a pagoda most in Thailand, the 99 Buddha pagoda that matters. The pagoda is four reign.Buddha loetla nabhalai. Jessadabodindra. And the Mongkut
.

.Wat Phra chetuphon wimon mang Clara according to three records created since the time period But unidentified about building was originally called the "วัดโพธาราม" or "wat" has been ยกฐา it up as a monastery in สมัยกรุงธนบุรี.To establish this temple in New YearProfessor 2551 and date 16 June 2554 by UNESCO. Registered number of inscriptions, reclining 1 440 piece is มรดกความทรงจำโลก in the international register


.Professor 2331 by had built the Temple Terrace, the temple, as well as the restoration of the original when completed in 1998.2344 be royal named "Wat Phra chetuphon wimon mang cloud." A วัดประจำรัชกาล Buddha yodfa chulaloke
coronation of Preah Norodom ironing ที่วั Phra chetuphon stainless mang Clara มราช วรมหาวิหาร
.Since then Wat Phra chetuphon maintained big time. In the reign of King Rama and please graciously, inscriptions in various books on artificial marble plates on the ศาลาราย. .To solve the monastery that necklace "Linux distributions. And inside the monastery is also used as the coronation of Preah Norodom legally. Before the coronation again, Phnom Penh.The king in the dynasty all he considered. Wat Phra chetuphon wimon mang Clara. A royal temple is important. And he is the royal tradition. He restored to repair this temple every year.Because it is the source of knowledge such as history, literature and medicine, the name Wat Phra chetuphon wimon mang Clara this. Appeared in the reign of 4 announced.2411 "this measure, even the name of the Royal since the reign 1 but ชื่อพระราชทาน the call but is ในพระราชวัง. People also called Wat Pho and land "and a royal.
.Prof.Wat chetuphon wimon mang Clara มราช วรมหาวิหาร. An ancient temple built in the Ayutthaya period Unidentified about building, originally called the วัดโพธาราม or Wat Pho, raised up as the royal temple in สมัยธนบุรี.To establish this temple in New YearProf. 23 31 by building the Temple Terrace, the temple, as well as the restoration of the original when completed in 1998.Likewise, the royal order known as the "cloud" Wat Phra chetuphon stainless mang. A วัดประจำรัชกาล King Rama, วัดพระเชตุพนฯ.And please, write all texts often. On the marble statue of him by ศาลาราย, in the reign of
.




the contact zone of this monastery has an area of 50 Rai 8 square that is located south of the great palaces
North Road East End Taking Wang
Taking the thanon sanam Chai
south, taking the Road Economic
West.



taking maharat road












.There is a road chetupon flanked by white wall divided the monastery and monastery


period. In B.23 25 when King Rama ascended ascend the throne. He built a new palace Measured in the field closer to Royal 2 temple is wat Salak (initiation) and วัดโพธาราม.He then measure is the Buddha yodfa chulaloke accept restoration วัดโพธาราม. The forcing. ราชกรม palace, great ethereal surely accept rebuilt the temple carved. Because of this therefore held that the วัดพระเชตุพนฯ.Wat Mahathat is measured and misbehavior but there
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: