เลขที่หนังสือ : กค 0706/3892 วันที่ : 8 พฤษภาคม 2549 เรื่อง : เงินได้น การแปล - เลขที่หนังสือ : กค 0706/3892 วันที่ : 8 พฤษภาคม 2549 เรื่อง : เงินได้น อังกฤษ วิธีการพูด

เลขที่หนังสือ : กค 0706/3892 วันที่


เลขที่หนังสือ

: กค 0706/3892



วันที่

: 8 พฤษภาคม 2549



เรื่อง

: เงินได้นิติบุคคล กรณีการจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมและค่าบริหารจัดการไปต่างประเทศ


ข้อกฎหมาย

: มาตรา 40(2) มาตรา 40(4)(ก) มาตรา 70 มาตรา 78/1(3) และมาตรา 83/6(2) แห่งประมวลรัษฎากร


ข้อหารือ

: นางสาว ศ. ได้มีหนังสือลงวันที่ 29 กันยายน 2548 แจ้งว่าบริษัท ก จำกัด ประกอบกิจการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จำหน่ายในประเทศและต่างประเทศ บริษัท ก ได้กู้ยืมเงินจากบริษัท A ซึ่งเป็นบริษัทในเครือเดียวกัน มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยคิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมในอัตราร้อยละ 5.0 ต่อปี นอกจากนั้น บริษัท A และบริษัท ก ติดต่อซื้อขายสินค้ากันเป็นปกติธุระ โดยบริษัท A จะคิดค่าบริหารจัดการ (Management Fee) จากบริษัท ก ทุกปี ต่อมาบริษัท ก ค้างชำระค่าดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ค่าสินค้า และค่าบริหารจัดการ และบริษัท A คิดดอกเบี้ยค้างชำระในอัตราร้อยละ 5.0 ต่อปี จากดอกเบี้ยเงินกู้ยืม และค่าบริหารจัดการ สำหรับหนี้ค่าสินค้าจะชำระโดยการหักบัญชีเจ้าหนี้บริษัท A กับบัญชีลูกหนี้บริษัท A นอกจากนั้นยังคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่ผิดนัดอีกด้วย กรณีซื้อสินค้าจากบริษัท A บริษัท ก จะบันทึกค่าสินค้าค้างชำระในบัญชีเจ้าหนี้บริษัท A (Amount due to the parent company) กรณีค้างชำระค่าดอกเบี้ยเงินกู้ ค่าบริหารจัดการ และดอกเบี้ยล่าช้า จะบันทึกรวมในบัญชีเงินกู้ยืมจากบริษัท A (Loan from the parent company) บริษัท ก จึงขอทราบว่า
1. กรณีการบันทึกรายการดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมค้างชำระในบัญชีเงินกู้ยืมจะถือว่า บริษัท ก ได้ชำระดอกเบี้ยเงินกู้ยืมแก่บริษัท A ซึ่งถือเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) แห่งประมวลรัษฎากรหรือไม่ และบริษัท ก จะต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมินที่จ่ายในอัตราร้อยละ 15 ตามมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร หรือไม่
2. กรณีการบันทึกรายการค่าบริหารจัดการค้างชำระ และดอกเบี้ยจากการค้างชำระในบัญชีเจ้าหนี้เงินกู้ยืมจะถือว่า บริษัท ก ได้ชำระค่าบริหารจัดการ แก่บริษัท A ซึ่งถือเป็นการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) แห่งประมวลรัษฎากร หรือไม่ บริษัท ก ต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมินที่จ่ายดังกล่าวอย่างไร มีอนุสัญญาเพื่อเว้นการเก็บภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเนเธอร์แลนด์หรือไม่ และบริษัท ก จะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ.36) หรือไม่


แนววินิจฉัย

: 1. กรณีดอกเบี้ยเงินกู้ยืม และดอกเบี้ยเงินกู้ยืมค้างชำระ เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (4)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5)หรือ(6) แห่งประมวลรัษฎากร ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทยให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย มีหน้าที่ต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ดังนั้น กรณีบริษัท ก บันทึกรายการดอกเบี้ยเงินกู้ยืมและดอกเบี้ยเงินกู้ยืมค้างชำระในบัญชีเจ้าหนี้เงินกู้ยืม จึงไม่ถือเป็นการจ่ายดอกเบี้ยออกไปจริง บริษัท ก ไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมินที่จ่ายตามมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร แต่อย่างใด
2. กรณีบริษัท ก จ่ายค่าบริหารจัดการ (Management Fee) หากการบริหารจัดการดังกล่าวนั้น ไม่มีความซับซ้อนหรือต้องใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ค่าตอบแทนในการบริหารจัดการ เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับค่าดอกเบี้ยเนื่องจากค่าบริหารจัดการค้างชำระ เข้าลักษณะเป็นเงินได้ที่มีลักษณะทำนองเดียวกับดอกเบี้ยตามมาตรา40(4)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร ดังนั้น กรณีบริษัท ก บันทึกรายการค่าบริหารจัดการค้างชำระและบัญชีดอกเบี้ยค่าบริหารจัดการค้างชำระในบัญชีเจ้าหนี้เงินกู้ยืม ไม่ถือเป็นการจ่ายเงินได้ออกไปต่างประเทศ จึงไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีจากเงินได้พึงประเมินที่จ่ายตามมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร
กรณีภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากการบริหารจัดการของบริษัท A เข้าลักษณะเป็นการให้บริการโดยผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักรซึ่งความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมดหรือบางส่วนเกิดขึ้นเมื่อได้มีการชำระราคาค่าบริการทั้งหมดหรือบางส่วนแล้วแต่กรณี ตามมาตรา 78/1(3) แห่งประมวลรัษฎากร ดังนั้น กรณีบริษัท ก บันทึกรายการค่าบริหารจัดการค้างชำระ และบัญชีดอกเบี้ยค่าบริหารจัดการค้างชำระในบัญชีเจ้าหนี้เงินกู้ยืม มิใช่เป็นการชำระราคาค่าบริการจึงไม่มีหน้าที่นำส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการมีหน้าที่เสียตามมาตรา 83/6(2) แห่งประมวลรัษฎากร


เลขตู้

:69/34157

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Number of books : Kok 0706/3892 The date that the : May 8 2549? The story. : Income interest expenses and loan case management fee to a foreign country. Legal text. : (2) article 40 article 40 (4) (a), section 78, section 70/83 and article 1 (3)/6 (2) of the revenue code. Discuss the message. : Ms. Sun has got books down September 29 Ltd company says 2548 manufacturer electronic equipment sold in the country and abroad. The company has loans from click A company which is a subsidiary of the same. Headquartered in the country Netherlands By the loan interest rate 5.0 percent per year. In addition, the company and subsidiaries, click A contact item as normal trading company engaged A management fee will be charged (Management Fee) from the company sued each year. The company later sued the outstanding loan value value item, and the value A company management and outstanding interest rate 5.0 percent per year from loan and debt management for the value of goods will be paid by the company to A creditor debit accounts receivable is also thinking of A company.Interest interest that is in default. A company purchases of goods from the company case, click save item in Payables owed A company (parent company to the Amount due) accrued interest paid loan case management fee and interest for delay. Saves included in loans from A company account (Loan from the parent company), click hereby know. 1. cases recorded, interest, loan interest outstanding on the loan account, the loan is considered to have been paid, the company sued the company A loan, which is considered the taxable payment under section. 40 (4) (a) of the revenue code, and the company are required to deduct tax from taxable income that is paid at the rate of 15 per cent according to section 70 of the revenue code or not. 2. cases recorded, outstanding management fee and interest owed on the loan payable account will be deemed to have paid the management company, sued the company, which is considered to be A taxable payment in accordance with article 40 (2) of the revenue code or not. Click company, tax must be deducted from the taxable income of such pay? There is a Convention for international tax, except Thailand, with the Netherlands, and the company won't have to submit VAT (value added tax) or not. Diagnostic orientation. : 1. If the loan and interest outstanding loans into style as taxable income under section. 40 (4) (a) of the revenue code because section 70 of the revenue code. Assign expense taxable income in accordance with article 40 (2) (3) (4) (5) or (6) Of the revenue code, or in the country from Thailand to the company or juristic partnership established under the laws of a foreign country do not operate a business in Thailand. Is obliged to deduct tax from taxable income that is paid for, so click Save list of loan and interest owed on loans and accounts payable, loans? So it is not considered to be an interest payment out to true. Click company has no duty to deduct tax from taxable income paid in accordance with article 70 of the revenue code in any way. 2. click company pay case management (Management Fee) if such management. There are no complex or requires the use of advanced technology. Compensation for management. Look into taxable income under section 40 (2) of the revenue code. Because of the interest for the outstanding management fee income into a style that looks similar to the interest in accordance with article 40 (4) (a) of the revenue code, so save the list for outstanding management fee and account management fee, the interest owed on loans and accounts payable. Not considered to be paying out to different countries. Therefore, there is no obligation to deduct from taxable income tax paid under section 70 of the revenue code. กรณีภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากการบริหารจัดการของบริษัท A เข้าลักษณะเป็นการให้บริการโดยผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นในราชอาณาจักรซึ่งความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มทั้งหมดหรือบางส่วนเกิดขึ้นเมื่อได้มีการชำระราคาค่าบริการทั้งหมดหรือบางส่วนแล้วแต่กรณี ตามมาตรา 78/1(3) แห่งประมวลรัษฎากร ดังนั้น กรณีบริษัท ก บันทึกรายการค่าบริหารจัดการค้างชำระ และบัญชีดอกเบี้ยค่าบริหารจัดการค้างชำระในบัญชีเจ้าหนี้เงินกู้ยืม มิใช่เป็นการชำระราคาค่าบริการจึงไม่มีหน้าที่นำส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการมีหน้าที่เสียตามมาตรา 83/6(2) แห่งประมวลรัษฎากร Number of the Cabinet. :69/34157
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: