4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัลลี ธัรานันตรัย (2547) การวิจัยครั้งนี้มีวั การแปล - 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัลลี ธัรานันตรัย (2547) การวิจัยครั้งนี้มีวั อังกฤษ วิธีการพูด

4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัลลี ธัรา

4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วัลลี ธัรานันตรัย (2547) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรี รวมทั้งศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปจังหวัดราชบุรีกลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาคือบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรี โดยปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต้นสังกัดเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 360 รายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การผันแปรทางเดียว และการวิเคราะห์การผันแปรประกอบกับการวิเคราะห์การจำแนกพหุ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในระดับสูง และปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า คือ อายุ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า การมีประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม และการให้คุณค่า สิ่งแวดล้อม โดยมีผลต่อการผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้า อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.001 ส่วนตัวแปร เพศ ระดับการรับรู้ข่าวสาร และระดับความรู้ มีผลต่อการผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ยังพบว่าตำแหน่ง ระดับการศึกษา จำนวนสมาชิกในครอบครัว รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน และที่พักอาศัยไม่ก่อให้เกิดการ ผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์ พลังงานไฟของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปจังหวัดราชบุรีข้อเสนอแนะของผู้วิจัยเพื่อก่อให้เกิดพฤติกรรม การอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรีที่ถูกต้อง กล่าวคือ ผู้บริหารของแต่ละโรงพยาบาล อาจส่งเสริมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโดยการให้ความรู้ ความตระหนักและข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าที่ถูกต้องตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานให้แก่บุคลากรทุกระดับในองค์กรอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จริงจัง ส่งเสริมบทบาทของหัวหน้ากลุ่มงานหัวหน้าฝ่าย หรือหัวหน้างาน ในการเป็นแบบอย่างในพฤติกรรม ที่ดีในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าแก่
บุคลากร ควรมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติ โดยผู้บังคับบัญชา หรือผู้ร่วมงาน หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชนและสื่อมวลชนทุกๆ ประเภท โดยเฉพาะทางโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และวิทยุ ส่งเสริมการเผยแพร่ความรู้และความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้น่าจะนำมาซึ่งการพัฒนาบุคลากรและทำให้บุคลากรในองค์กรมีพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าที่ถูกต้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
4. related research วัลลี ธัรานันตรัย (2547) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรี รวมทั้งศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปจังหวัดราชบุรีกลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาคือบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรี โดยปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต้นสังกัดเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 360 รายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การผันแปรทางเดียว และการวิเคราะห์การผันแปรประกอบกับการวิเคราะห์การจำแนกพหุ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในระดับสูง และปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า คือ อายุ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า การมีประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม และการให้คุณค่า สิ่งแวดล้อม โดยมีผลต่อการผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้า อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.001 ส่วนตัวแปร เพศ ระดับการรับรู้ข่าวสาร และระดับความรู้ มีผลต่อการผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ยังพบว่าตำแหน่ง ระดับการศึกษา จำนวนสมาชิกในครอบครัว รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน และที่พักอาศัยไม่ก่อให้เกิดการ ผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์ พลังงานไฟของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปจังหวัดราชบุรีข้อเสนอแนะของผู้วิจัยเพื่อก่อให้เกิดพฤติกรรม การอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรีที่ถูกต้อง กล่าวคือ ผู้บริหารของแต่ละโรงพยาบาล อาจส่งเสริมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโดยการให้ความรู้ ความตระหนักและข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าที่ถูกต้องตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานให้แก่บุคลากรทุกระดับในองค์กรอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จริงจัง ส่งเสริมบทบาทของหัวหน้ากลุ่มงานหัวหน้าฝ่าย หรือหัวหน้างาน ในการเป็นแบบอย่างในพฤติกรรม ที่ดีในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าแก่People should have a continuous evaluation to achieve operational efficiency by bosses or colleagues, government agencies and private organizations, and mass media in every category, especially on television, radio and newspapers to promote the dissemination of knowledge and awareness in the ongoing energy conservation. Often, these things would bring about development and make the people in the organization with electrical energy conservation behaviour is appropriate and sustainable performance.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วัลลี ธัรานันตรัย (2547) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรี รวมทั้งศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปจังหวัดราชบุรีกลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาคือบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรี โดยปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต้นสังกัดเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 360 รายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การผันแปรทางเดียว และการวิเคราะห์การผันแปรประกอบกับการวิเคราะห์การจำแนกพหุ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในระดับสูง และปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า คือ อายุ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า การมีประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม และการให้คุณค่า สิ่งแวดล้อม โดยมีผลต่อการผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้า อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.001 ส่วนตัวแปร เพศ ระดับการรับรู้ข่าวสาร และระดับความรู้ มีผลต่อการผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ยังพบว่าตำแหน่ง ระดับการศึกษา จำนวนสมาชิกในครอบครัว รายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน และที่พักอาศัยไม่ก่อให้เกิดการ ผันแปรของพฤติกรรมการอนุรักษ์ พลังงานไฟของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปจังหวัดราชบุรีข้อเสนอแนะของผู้วิจัยเพื่อก่อให้เกิดพฤติกรรม การอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดราชบุรีที่ถูกต้อง กล่าวคือ ผู้บริหารของแต่ละโรงพยาบาล อาจส่งเสริมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของบุคลากรโดยการให้ความรู้ ความตระหนักและข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าที่ถูกต้องตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานให้แก่บุคลากรทุกระดับในองค์กรอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จริงจัง ส่งเสริมบทบาทของหัวหน้ากลุ่มงานหัวหน้าฝ่าย หรือหัวหน้างาน ในการเป็นแบบอย่างในพฤติกรรม ที่ดีในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าแก่
บุคลากร ควรมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติ โดยผู้บังคับบัญชา หรือผู้ร่วมงาน หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชนและสื่อมวลชนทุกๆ ประเภท โดยเฉพาะทางโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และวิทยุ ส่งเสริมการเผยแพร่ความรู้และความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้น่าจะนำมาซึ่งการพัฒนาบุคลากรและทำให้บุคลากรในองค์กรมีพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าที่ถูกต้องเหมาะสมและมีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
4. Related research
.Creeper (2547 (RA นันต cereals.) the purpose of this research is To study the behavior and the factors affecting the energy conservation of the personnel, general hospitals, Ratchaburi Province, including problem study The obstacles.Ratchaburi province. By working in the hospital for a period of not less than 1 years agency of 360 the tools used in the data collection was a questionnaire. The data were analyzed by statistic and arithmeticAnalysis of variance And the analysis of variance components with multiple classification analysis study. The behavior of energy conservation in high level.Is the age, duration of operation, the attitude about conservation of electrical energy. Experience in environment and the environment, by affecting the variation of electrical energy conservation behavior significantly.0.001 private sex, level of perception and knowledge. Effect on the variation of energy conservation behavior significantly 0.05 also found that position, level of education, number of family members, family income average per month. And housing does not cause. Variation of behavior and conservation.Energy conservation of hospital personnel general hospital is the right of each hospital. May promote energy conservation behavior of personnel by providing the knowledge.Uniform, seriously, strengthen the role of chief of department head or heads in a pattern of behavior. Good energy conservation to
.Personnel should have follow-up continued to efficiency in practice by bosses or colleagues, government agencies. Private enterprise and media every type, especially television, newspapers.Promote the dissemination of knowledge and awareness of energy conservation continued regularly.

.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: