จะได้ว่าอัตราจากสมการเคมี จะได้ว่า ดังนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยา หาได้ การแปล - จะได้ว่าอัตราจากสมการเคมี จะได้ว่า ดังนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยา หาได้ อังกฤษ วิธีการพูด

จะได้ว่าอัตราจากสมการเคมี จะได้ว่า


จะได้ว่า
อัตรา
จากสมการเคมี จะได้ว่า

ดังนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยา หาได้จาก


อัตราการเกิดปฏิกิริยา มีค่าเท่ากับ 8.0 x 10-5 mol L-1 s-1
และเนื่องจาก อัตราการลดลงของ NOBr เป็น 2 เท่าของอัตราการเกิดปฏิกิริยา จึงได้ว่า




เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะต่าง ๆ ของปฏิกิริยา เช่น อุณหภูมิ หรือความเข้มข้น นักเรียนคิดว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร? จากการทดลองพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยามี 6 ปัจจัย ดังนี้
1. ธรรมชาติของสารทำปฏิกิริยา
2. ความเข้มข้นของสารทำปฏิกิริยา
3. ความดันของสารทำปฏิกิริยา
4. อุณหภูมิ
5. ตัวเร่งปฏิกิริยา
6. พื้นที่ผิว



สารแต่ละชนิดมีสมบัติในการทำปฏิกิริยาเร็ว - ช้าแตกต่างกัน เช่น
ธาตุไนโตรเจนเฉื่อยต่อปฏิกิริยามากจึงไม่ค่อยทำปฏิกิริยากับสารใด
โลหะโซเดียมทำปฏิกิริยาอย่างรวดเร็วกับน้ำ เกิดประกายไฟและแก๊สไฮโดรเจน ในขณะที่โลหะแมกนีเซียมเกิดปฏิกิริยากับน้ำอย่างช้า ๆ ดังรูปแสดงการทดลองต่อไปนี้
ในบีกเกอร์ทั้งสองใบมีน้ำที่หยดสารละลายฟีนอล์ฟทาลีนเอาไว้แล้ว จะสังเกตได้ว่าน้ำยังคงไม่มีสี (เพราะเหตุใด) ทีนี้ลองใส่ก้อนโลหะโซเดียม (ขนาดเท่าเมล็ดถั่วเขียว) และแผ่นโลหะแมกนีเซียม (ขนาด 0.5 x 1.0 cm2) ลงไปซิ







ปฏิกิริยาของโลหะโซเดียม (Na) กับน้ำ ปฏิกิริยาของแผ่นโลหะแมกนีเซียม (Mg) กับน้ำ
(เมื่อมีฟีนอล์ฟทาลีนอยู่) (เมื่อมีฟีนอล์ฟทาลีนอยู่)

สมการการเกิดปฏิกิริยาเป็นดังนี้



ปฏิกิริยาในสองบีกเกอร์ต่างกันที่ใช้ Na หรือ Mg เท่านั้น แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยู่กับธรรมชาติของสารตั้งต้น



ปฏิกิริยาส่วนใหญ่เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็มักจะเพิ่มขึ้น มีส่วนน้อยเท่านั้นที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลเบื้องต้นที่ต้องทราบก็คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้เป็นสัดส่วนกับความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นเสมอไป การที่จะระบุว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด ได้มาจากการทดลองเท่านั้น
กรณีที่ 1: การเพิ่มความเข้มข้นมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
การเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้นในปฏิกิริยาก็เท่ากับการเพิ่มอนุภาคของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เมื่อมีอนุภาคของสารมากขึ้น โอกาสที่จะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาก็จะมีมากขึ้นตามไปด้วย
ตัวอย่างปฏิกิริยา









ความดัน (pressure) ความเข้มข้นของแก๊สมักจะใช้การเปลี่ยนความดันเพื่อเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ในเมื่อการเปลี่ยนแปลงความดันเปรียบเหมือนกับการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ดังนั้นความดันจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
• ทำไมการเพิ่มความดันของแก๊สจึงเหมือนกับการเพิ่มความเข้มข้น
ให้พิจารณาสมการ
ลองเปลี่ยนรูปสมการนี้ใหม่
n คือจำนวนโมล และ V คือปริมาตร ดังนั้น n/V ก็คือความเข้มข้น และพบว่าในเทอม RT จะคงที่ตราบใดที่ T คงที่ เมื่อ n/V คือความเข้มข้น ดังนั้นความดัน (P) จึงเป็นแปรผันตรงกับความเข้มข้น (n/V) นั่นเอง (นักเรียนสามารถศึกษาเรื่องความดันเพิ่มเติมได้ในเรื่อง "แก๊ส")



การเพิ่มอุณหภูมิเป็นสภาวะที่สามารถเพิ่มการชนได้ เพราะเมื่อเพิ่มอุณหภูมิหรือให้ความร้อนแก่สารในปฏิกิริยา อนุภาคจะมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น จะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น ชนกันมากขึ้น โอกาสที่จะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาก็จะมีมากขึ้น เมื่อเกิดปฏิกิริยามากขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็เพิ่มขึ้นนั่นเอง
ปฏิกิริยาเคมีโดยทั่วไปเมื่อมีการเพิ่มอุณหภูมิจะส่งผลให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น แต่ในบางปฏิกิริยาอุณหภูมิก็ไม่มีส่วนที่จะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น เช่น ปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออนในปฏิกิริยาสะเทิน(neutralization reaction) เป็นต้น
การอธิบายว่าอุณหภูมิเป็นปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ต้องใช้ทฤษฎีการชน และกราฟการแจกแจงพลังงานของอนุภาคของแมกซ์เวล-โบลซ์มันน์ ดังนี้







การแจกแจงพลังงานของอนุภาคของแมกซ์เวล-โบลซ์มันน์
อนุภาคในพื้นที่ใต้กราฟทางด้านขวาของพลังงานก่อกัมมันต์เท่านั้นที่มีโอกาสชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเพราะเป็นอนุภาคที่มีพลังงานสูง ส่วนอนุภาคในพื้นที่ใต้กราฟทางด้านซ้ายของพลังงานก่อกัมมันต์ซึ่งเป็นอนุภาคส่วนใหญ่จะมีโอกาสชนกันได้แต่ไม่มีพลังงานมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยา ถ้าลองสร้างกราฟการแจกแจงพลังงานของอนุภาคเมื่อให้ความร้อนแก่สารในปฏิกิริยาเปรีย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Is that ...The rate ofFrom the chemical equation is that. Therefore, the reaction rate is available from. The reaction rate. Is equal to L-1 x 10-7 mol 8.0 s-1?And because the rate of decline of NOBr twice reaction rate, so that the. When there is a change of State reactions, such as temperature or concentration, students think that the rate of reaction will have changed? From the experiments, it was found that the factors that are related to the rate of reaction with 6 factors as follows: 1. the nature of the substances react 2. the concentration of the substance react 3. the pressure of doing a reaction. 4. the temperature. 5. the catalytic 6. surface area Each substance has properties in fast-slow reaction is different. Lot reacted sluggishly against nitrogen rarely react with any substance. Metallic sodium react rapidly with water and gas-hydrogen sparks while metal magnesium reaction with water slowly as shown in the following trial. In a beaker with water drops in both the message signature per League already naao fino fatha. You will notice that the water is still not there (why) a lump sum now metal sodium (green bean seed size) and sheet metal, magnesium (0.5 x 1.0 cm2 in size) into the SI!The reaction of metallic sodium (Na) with water, the reaction of magnesium (Mg) metal plate with water. (When the League is fino fatha) (when the League is fatha fino).The reaction equation is as follows: The reaction in two different beaker used only Na or Mg. Show that the rate of reaction depends on the nature of the precursor. Most of the reaction when added to the concentration of precursor. The rate of reaction, it is usually increased. There is a minority that has not been changed. Basic information that is required is that the reaction rate change is not proportional to the increase in concentration. To indicate that the rate of reaction changes much from the trial.Case 1: increasing the concentration affects the rate of a reaction. การเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้นในปฏิกิริยาก็เท่ากับการเพิ่มอนุภาคของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เมื่อมีอนุภาคของสารมากขึ้น โอกาสที่จะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาก็จะมีมากขึ้นตามไปด้วยตัวอย่างปฏิกิริยา ความดัน (pressure) ความเข้มข้นของแก๊สมักจะใช้การเปลี่ยนความดันเพื่อเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ในเมื่อการเปลี่ยนแปลงความดันเปรียบเหมือนกับการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ดังนั้นความดันจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา• ทำไมการเพิ่มความดันของแก๊สจึงเหมือนกับการเพิ่มความเข้มข้น ให้พิจารณาสมการ ลองเปลี่ยนรูปสมการนี้ใหม่ n คือจำนวนโมล และ V คือปริมาตร ดังนั้น n/V ก็คือความเข้มข้น และพบว่าในเทอม RT จะคงที่ตราบใดที่ T คงที่ เมื่อ n/V คือความเข้มข้น ดังนั้นความดัน (P) จึงเป็นแปรผันตรงกับความเข้มข้น (n/V) นั่นเอง (นักเรียนสามารถศึกษาเรื่องความดันเพิ่มเติมได้ในเรื่อง "แก๊ส") การเพิ่มอุณหภูมิเป็นสภาวะที่สามารถเพิ่มการชนได้ เพราะเมื่อเพิ่มอุณหภูมิหรือให้ความร้อนแก่สารในปฏิกิริยา อนุภาคจะมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น จะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น ชนกันมากขึ้น โอกาสที่จะชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาก็จะมีมากขึ้น เมื่อเกิดปฏิกิริยามากขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็เพิ่มขึ้นนั่นเอง ปฏิกิริยาเคมีโดยทั่วไปเมื่อมีการเพิ่มอุณหภูมิจะส่งผลให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น แต่ในบางปฏิกิริยาอุณหภูมิก็ไม่มีส่วนที่จะทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น เช่น ปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออนในปฏิกิริยาสะเทิน(neutralization reaction) เป็นต้น การอธิบายว่าอุณหภูมิเป็นปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ต้องใช้ทฤษฎีการชน และกราฟการแจกแจงพลังงานของอนุภาคของแมกซ์เวล-โบลซ์มันน์ ดังนี้การแจกแจงพลังงานของอนุภาคของแมกซ์เวล-โบลซ์มันน์ อนุภาคในพื้นที่ใต้กราฟทางด้านขวาของพลังงานก่อกัมมันต์เท่านั้นที่มีโอกาสชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเพราะเป็นอนุภาคที่มีพลังงานสูง ส่วนอนุภาคในพื้นที่ใต้กราฟทางด้านซ้ายของพลังงานก่อกัมมันต์ซึ่งเป็นอนุภาคส่วนใหญ่จะมีโอกาสชนกันได้แต่ไม่มีพลังงานมากพอที่จะเกิดปฏิกิริยา ถ้าลองสร้างกราฟการแจกแจงพลังงานของอนุภาคเมื่อให้ความร้อนแก่สารในปฏิกิริยาเปรีย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!



are that the rate of equations will be

so the reaction rate obtained from


the reaction rate is equal to 8.0 x 10-5 mol. L-1 S-1
and due to the reduced rate of NOBr is 2 times of the reaction rate, so that the




.When a change of various conditions of reaction, such as temperature or concentration. Students think. The reaction rate will change?The results showed that Factors related to the reaction rate is 6 factors as follows:
1. Nature of the substances do reaction
2. Concentrations of substances react
3. Pressure of the substance reacts
4. Temperature
.
6 5 catalyst.Surface area


.
of each kind of treasure to react fast - slow different, such as
nitrogen inert to reaction can not react with any substance
.Sodium metal reacts rapidly with water. Sparking and hydrogen gas. While magnesium metal reaction with the water slowly, as shown in the picture show trials following
.In a beaker of water drop both leaves solution of phenolphthalein in mind. Notice that the water remains colorless (why) now try to put a sodium metal (size, green beans) and sheet metal magnesium (size 0.5 x 1.0 cm2). Down







.The reaction of sodium metal Na) with water, reaction of sheet metal magnesium (Mg) with water
(when ฟีนอล์ฟ, stay). (when a wage leadership presence)

equation of reaction is as follows:



.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: