กัมพูชามีเส้นทางการขนส่งและลำเลียงสินค้าเพื่อส่งออกทั้งทางบกและทางน้ำท การแปล - กัมพูชามีเส้นทางการขนส่งและลำเลียงสินค้าเพื่อส่งออกทั้งทางบกและทางน้ำท อังกฤษ วิธีการพูด

กัมพูชามีเส้นทางการขนส่งและลำเลียงส

กัมพูชามีเส้นทางการขนส่งและลำเลียงสินค้าเพื่อส่งออกทั้งทางบกและทางน้ำที่รัฐบาลกำลังเร่งปรับปรุง รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานด้านอื่น ๆ ด้วย โดยเส้นทางการขนส่งสินค้าเพื่อส่งออกและนำเข้าวัตถุดิบ ได้แก่

เส้นทางขนส่งทางบก กัมพูชามีถนนสายหลัก 7 สาย ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากนานาชาติในการปรับปรุงเส้นทาง เช่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) สหประชาชาติ (UN) ประเทศญี่ปุ่น และประเทศจีน เป็นต้น สำหรับประเทศไทยได้ให้ความช่วยเหลือปรับปรุงเส้นทางสายรองแก่กัมพูชา 2 สาย คือ เส้นทางสาย 48 และสาย 67 ดังแสดงในแผนภาพที่ 2.4 ในส่วนของทางรถไฟ คือ เส้นทางสายพนมเปญ-บันเตียเมียนเจย บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา และเส้นทางสายพนมเปญ-สีหนุวิลล์ นอกจากนี้รัฐบาลกัมพูชายังมีโครงการที่จะสร้างเส้นทางรถไฟสายใหม่จากจังหวัดกำปงสปือ พนมเปญไปยังชายแดนเวียดนาม โดยได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากจีน ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟที่เชื่อมระหว่างสิงคโปร์-คุณหมิงของจีน เส้นทางรถไฟสายนี้จะเป็นเส้นทางส่งออกสินค้าไปยังประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งได้ ดังแสดงในแผนภาพที่ 2.5

นอกจากนี้ประเทศไทยก็ได้มีการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ร่วมกับกัมพูชาตามกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่างๆ ได้แก่ ACMECS GMS และ MGC เป็นต้น เส้นทางการขนส่งที่สำคัญในอนาคต คือ
1) เส้นทาง R1 โครงการถนนสายกรุงเทพฯ-พนมเปญ-โฮจิมินต์ซิตี้-วังเตา
2) เส้นทาง R10 โครงการถนนเลียบชายฝั่งทะเล ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม
3) เส้นทางสาย 48 เป็นเส้นทางเศรษฐกิจหลักเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม สายเลียบชายฝั่งทะเล (Southern Economic Corridor) ภายใต้กรอบ GMS
4) เส้นทางถนนสาย 318 (ตราด-คลองใหญ่-หาดเล็ก) เป็นถนนสายสำคัญในการขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ จังหวัดในภาคตะวันออก ไปยังท่าเรือคลองใหญ่ เพื่อนำขึ้นที่ท่าเรือสีหนุวิลล์ และขนส่งต่อไปยังเวียดนามตอนใต้ ซึ่งจะส่งผลให้การขนส่งสินค้าทางบกจากจังหวัดตราดสู่พนมเปญเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3 เป็นร้อยละ 30 และลดระยะเวลาขนส่งเร็วกว่าทางน้ำ 3 เท่าตัว ทำให้ขนส่งสินค้าสะดวก และรวดเร็วขึ้น สามารถลดต้นทุนการขนส่งได้มากขึ้น
5) เส้นทางสาย 67 (สะงำ-อันลองเวง-เสียมเรียบ) เส้นทางนี้จะสนับสนุนการเชื่อมโยงการท่องเที่ยว และกิจกรรมทางเศรษฐกิจบริเวณเมืองคู่แฝด ศรีสะเกษ-เสียมเรียบ

การพัฒนาความร่วมมือทางโลจิสติกส์ระหว่างไทย-กัมพูชานี้มีข้อดี คือ การคมนาคมไปมาสะดวก การขนส่งสินค้า และการท่องเที่ยวจะง่ายขึ้น เมื่อการขนส่งสินค้าโดยเฉพาะทางบกสามารถติดต่อค้าขายได้สะดวก ก็จะส่งผลดีต่อการส่งออกและนำเข้าสินค้าระหว่างไทย-กัมพูชา
เส้นทางขนส่งทางน้ำ กัมพูชามีท่าเรือหลักที่ใช้ขนส่งสินค้า 3 แห่ง คือท่าเรือกำปงโสมหรือสีหนุวิลล์ เป็นท่าเรือที่ทันสมัยและใหญ่ที่สุด สามารถรองรับเรือบรรทุกสินค้าขนาด 10,000 ตัน ได้พร้อมกัน 4 ลำ และยังมีท่าเทียบเรือขนาดเล็กสำหรับเรือลำเลียงที่มีขนาดใหญ่ ท่าเรือพนมเปญ และท่าเรือเกาะกง ตั้งอยู่ใกล้จังหวัดตราด เป็นท่าเรือขนส่งสินค้าจากไทยและมาเลเซีย ดังแสดงในแผนภาพที่ 2.6
เส้นทางคมนาคมทางอากาศ
- สนามบินนานาชาติ ได้แก่ สนามบินนานาชาติพนมเปญหรือสนามบินโปเชนตง (Pochentong) ที่กรุงพนมเปญ และสนามบินนานาชาติเสียมเรียบ ที่จังหวัดเสียมเรียบ อย่างไรก็ตาม สนามบินนานานชาติทั้ง 2 แห่งนี้ ยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอที่จะรองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ
- สนามบินภายในประเทศ ได้แก่ สนามบินกางแก็ง (Kang Keng) จังหวัดสีหนุวิลล์ ซึ่งจะยกขึ้นเป็นสนามบินนานาชาติในปี พ.ศ. 2554 สนามบินจังหวัดพระตะบอง ท่าอากาศยานขนาดเล็กที่จังหวัดสีหนุวิลล์ และท่าอากาศยานสำรองเพื่อการขนส่งสินค้าที่จังหวัดกัมปงชนัง เป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กัมพูชามีเส้นทางการขนส่งและลำเลียงสินค้าเพื่อส่งออกทั้งทางบกและทางน้ำที่รัฐบาลกำลังเร่งปรับปรุง รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐานด้านอื่น ๆ ด้วย โดยเส้นทางการขนส่งสินค้าเพื่อส่งออกและนำเข้าวัตถุดิบ ได้แก่เส้นทางขนส่งทางบก กัมพูชามีถนนสายหลัก 7 สาย ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากนานาชาติในการปรับปรุงเส้นทาง เช่น ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) สหประชาชาติ (UN) ประเทศญี่ปุ่น และประเทศจีน เป็นต้น สำหรับประเทศไทยได้ให้ความช่วยเหลือปรับปรุงเส้นทางสายรองแก่กัมพูชา 2 สาย คือ เส้นทางสาย 48 และสาย 67 ดังแสดงในแผนภาพที่ 2.4 ในส่วนของทางรถไฟ คือ เส้นทางสายพนมเปญ-บันเตียเมียนเจย บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา และเส้นทางสายพนมเปญ-สีหนุวิลล์ นอกจากนี้รัฐบาลกัมพูชายังมีโครงการที่จะสร้างเส้นทางรถไฟสายใหม่จากจังหวัดกำปงสปือ พนมเปญไปยังชายแดนเวียดนาม โดยได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากจีน ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางรถไฟที่เชื่อมระหว่างสิงคโปร์-คุณหมิงของจีน เส้นทางรถไฟสายนี้จะเป็นเส้นทางส่งออกสินค้าไปยังประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งได้ ดังแสดงในแผนภาพที่ 2.5นอกจากนี้ประเทศไทยก็ได้มีการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ร่วมกับกัมพูชาตามกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่างๆ ได้แก่ ACMECS GMS และ MGC เป็นต้น เส้นทางการขนส่งที่สำคัญในอนาคต คือ1) เส้นทาง R1 โครงการถนนสายกรุงเทพฯ-พนมเปญ-โฮจิมินต์ซิตี้-วังเตา2) เส้นทาง R10 โครงการถนนเลียบชายฝั่งทะเล ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม3) เส้นทางสาย 48 เป็นเส้นทางเศรษฐกิจหลักเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม สายเลียบชายฝั่งทะเล (Southern Economic Corridor) ภายใต้กรอบ GMS4) เส้นทางถนนสาย 318 (ตราด-คลองใหญ่-หาดเล็ก) เป็นถนนสายสำคัญในการขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ จังหวัดในภาคตะวันออก ไปยังท่าเรือคลองใหญ่ เพื่อนำขึ้นที่ท่าเรือสีหนุวิลล์ และขนส่งต่อไปยังเวียดนามตอนใต้ ซึ่งจะส่งผลให้การขนส่งสินค้าทางบกจากจังหวัดตราดสู่พนมเปญเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3 เป็นร้อยละ 30 และลดระยะเวลาขนส่งเร็วกว่าทางน้ำ 3 เท่าตัว ทำให้ขนส่งสินค้าสะดวก และรวดเร็วขึ้น สามารถลดต้นทุนการขนส่งได้มากขึ้น5) เส้นทางสาย 67 (สะงำ-อันลองเวง-เสียมเรียบ) เส้นทางนี้จะสนับสนุนการเชื่อมโยงการท่องเที่ยว และกิจกรรมทางเศรษฐกิจบริเวณเมืองคู่แฝด ศรีสะเกษ-เสียมเรียบ

การพัฒนาความร่วมมือทางโลจิสติกส์ระหว่างไทย-กัมพูชานี้มีข้อดี คือ การคมนาคมไปมาสะดวก การขนส่งสินค้า และการท่องเที่ยวจะง่ายขึ้น เมื่อการขนส่งสินค้าโดยเฉพาะทางบกสามารถติดต่อค้าขายได้สะดวก ก็จะส่งผลดีต่อการส่งออกและนำเข้าสินค้าระหว่างไทย-กัมพูชา
เส้นทางขนส่งทางน้ำ กัมพูชามีท่าเรือหลักที่ใช้ขนส่งสินค้า 3 แห่ง คือท่าเรือกำปงโสมหรือสีหนุวิลล์ เป็นท่าเรือที่ทันสมัยและใหญ่ที่สุด สามารถรองรับเรือบรรทุกสินค้าขนาด 10,000 ตัน ได้พร้อมกัน 4 ลำ และยังมีท่าเทียบเรือขนาดเล็กสำหรับเรือลำเลียงที่มีขนาดใหญ่ ท่าเรือพนมเปญ และท่าเรือเกาะกง ตั้งอยู่ใกล้จังหวัดตราด เป็นท่าเรือขนส่งสินค้าจากไทยและมาเลเซีย ดังแสดงในแผนภาพที่ 2.6
เส้นทางคมนาคมทางอากาศ
- สนามบินนานาชาติ ได้แก่ สนามบินนานาชาติพนมเปญหรือสนามบินโปเชนตง (Pochentong) ที่กรุงพนมเปญ และสนามบินนานาชาติเสียมเรียบ ที่จังหวัดเสียมเรียบ อย่างไรก็ตาม สนามบินนานานชาติทั้ง 2 แห่งนี้ ยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกไม่เพียงพอที่จะรองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศ
- สนามบินภายในประเทศ ได้แก่ สนามบินกางแก็ง (Kang Keng) จังหวัดสีหนุวิลล์ ซึ่งจะยกขึ้นเป็นสนามบินนานาชาติในปี พ.ศ. 2554 สนามบินจังหวัดพระตะบอง ท่าอากาศยานขนาดเล็กที่จังหวัดสีหนุวิลล์ และท่าอากาศยานสำรองเพื่อการขนส่งสินค้าที่จังหวัดกัมปงชนัง เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Cambodia route transport and transport goods to export both land and water that the government is accelerate improvement. As well as other infrastructure. By way of shipping to export and นำเข้าวัตถุดิบ include

.Road transport by land, Cambodia has the main 7 lines. Which received help from international in improving directions, such as the Asian Development Bank (ADB) United Nations (UN), Japan, and China. And so on.2 line is the route 48 and line 67 as shown in diagram 2.4 on the part of the railroad's route Phnom Penh - banteay Meanchey Thai-Cambodia border areas and the path line Phnom Penh - Africa. Also, the Cambodian government also has a project to build a new railroad line from kampong SPEU province.Supported by funds from China. Which will be part of the route between คุณหมิง Singapore - China. This railroad line is the route to export goods to various countries in Southeast Asia.As shown in the diagram 2.5

also Thailand have developed logistics system with foreign economic cooperation framework, including the ACMECS GMS and MGC etc. transportation routes in the future is important!1) routes R1 project road, Bangkok - Phnom Penh - Ho Chi Minh City - Wang stove
2) R10 road along the coastal route project, minister - Vietnam
.3) route 48 is the main economy associate minister - Vietnam coast line (Southern Economic Corridor). Under the framework GMS
.4) streets 318 (Trad - Khlong Yai - small beach). A main street in the transportation of goods from the Bangkok Province, in the eastern pier large canal to bring up at the port of Sihanoukville And transport to South Vietnam.3 cent 30 and reduce transportation time faster than double water 3, cargo convenient and quicker, and can reduce transportation costs more
.5) route 67 (สะงำ - Anlong Veng - Siem Reap). This route will support links. And economic activity, the twin cities, Si SA ket - Siem Reap

.The development of logistics cooperation between Thailand and Cambodia has advantages of convenient transportation and is a freight transportation and tourism will be easier. When the transportation of goods by land can only trade convenient.The route water transport, Cambodia is the main port that used to transport goods 3. Port of kampong SOM is or Africa. A modern port and largest Can support a cargo ship size, 10000 tons. Simultaneously 4 ships. And there is also a small boat harbour for large Phnom Penh port and ท่าเรือเกาะกง is located near Trat Province, harbor freight from Thailand and Malaysia. As shown in the diagram 2.6
.Air transport
.- International Airport include Phnom Penh International Airport or สนามบินโปเชนตง (Pochentong) Phnom Penh and Siem Reap International Airport. At the International Airport in Siem Reap, however, both 2 national property.- Domestic Airport: Airport Kang Keng (Kang Keng) South Africa, which are lifted up as international airport in 2002.2554 airport, reverse engineering A small airport, South Africa. The airport and reserve for transportation of goods in kampong Chhnang, etc.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: