การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทย ตามที่กล่าวมาแล้วว่า รัฐธรรมนูญและธรรมนู การแปล - การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทย ตามที่กล่าวมาแล้วว่า รัฐธรรมนูญและธรรมนู อังกฤษ วิธีการพูด

การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทย ตามที

การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทย
ตามที่กล่าวมาแล้วว่า รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับประกาศเจตนารมณ์ไว้ชัดเจนว่าต้องการให้ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ซึ่งอาจวิเคราะห์แยกแยะหลักการสำคัญๆ ของการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยได้ดังนี้
1. อำนาจอธิปไตยและการใช้อำนาจอธิปไตย รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับ กำหนดอำนาจอธิปไตยซึ่งถือเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครอง ให้มีการแบ่งแยกการใช้ออกเป็น 3 ส่วน คือ อำนาจนิติบัญญัติ หรืออำนาจในการออกกฎหมาย อำนาจบริหาร หรืออำนาจในการนำกฎหมายไปบังคับใช้ และบำบัดทุกข์บำรุงสุขประชาชนและอำนาจตุลาการ หรืออำนาจในการตัดสินคดีให้เป็นไปตามกฎหมาย เมื่อมีข้อขัดแย้งเกิดขึ้น องค์กรที่ใช้อำนาจทั้ง 3 ส่วนนี้ คือ รัฐสภา เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ รัฐบาล หรือคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร และ ศาล เป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการ โดยใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์การกำหนดให้มีการแยกการใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น 3 ส่วน และให้มีองค์กร 3 ฝ่าย รับผิดชอบไปองค์กรแต่ละส่วนนี้ เป็นไปตามหลักการประชาธิปไตย ที่ไม่ต้องการให้มีการรวมอำนาจแต่ต้องการให้มีการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน เพราะถ้าให้องค์กรใดเป็นผู้ใช้อำนาจมากกว่าหนึ่งส่วนแล้วอาจเป็นช่องทางให้เกิดการใช้อำนาจแบบเผด็จการได้ เช่น ถ้าให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติและอำนาจบริหาร คณะรัฐมนตรีก็อาจจะออกกฎหมายที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และนำกฎหมายนั้นไปบังคับใช้เพื่อประโยชน์ของตนเพียงฝ่ายเดียว การแยกอำนาจนั้นเป็นหลักประกันให้มีการค้านอำนาจซึ่งกันและกัน และป้องกันการใช้อำนาจเผด็จการ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The democracy of the Thai
As mentioned previously, the Constitution and the constitutional law governing the aims and purposes proclaimed makes it clear that each wants to give the country a democratic regime is Thai with the King as head of State, which may be important to distinguish between the primary analysis. 1. Sovereignty and sovereignty The Constitution and the constitutional law of each Defines sovereignty as the power in the Government, divided use 3 parts of legislation is the power or powers in legislation. Or the power to apply the law to enforce people's happiness and suffering and the judiciary, or the power to judge cases according to law. When a conflict occurs. An organization that uses the power of this section 3: Parliament. The Government or the Council of Ministers is the Executive power users, and users of the judiciary Court, using the King's signature in the King's determination to be separated using sovereignty into 3 sections and have representative organizations 3. According to the democratic principles that do not want to include the powers, but there must be mutual checks. For example, if a user's Cabinet, the power of legislation and executive power. The Council of Ministers, it might be legislation that is not consistent with the needs of the people and bring them to enforce the law to their advantage, just a single Department. And protection of power dictatorship
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทย
ตามที่กล่าวมาแล้วว่า รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับประกาศเจตนารมณ์ไว้ชัดเจนว่าต้องการให้ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ซึ่งอาจวิเคราะห์แยกแยะหลักการสำคัญๆ ของการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยได้ดังนี้
1. อำนาจอธิปไตยและการใช้อำนาจอธิปไตย รัฐธรรมนูญและธรรมนูญการปกครองทุกฉบับ กำหนดอำนาจอธิปไตยซึ่งถือเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครอง ให้มีการแบ่งแยกการใช้ออกเป็น 3 ส่วน คือ อำนาจนิติบัญญัติ หรืออำนาจในการออกกฎหมาย อำนาจบริหาร หรืออำนาจในการนำกฎหมายไปบังคับใช้ และบำบัดทุกข์บำรุงสุขประชาชนและอำนาจตุลาการ หรืออำนาจในการตัดสินคดีให้เป็นไปตามกฎหมาย เมื่อมีข้อขัดแย้งเกิดขึ้น องค์กรที่ใช้อำนาจทั้ง 3 ส่วนนี้ คือ รัฐสภา เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ รัฐบาล หรือคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร และ ศาล เป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการ โดยใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์การกำหนดให้มีการแยกการใช้อำนาจอธิปไตยออกเป็น 3 ส่วน และให้มีองค์กร 3 ฝ่าย รับผิดชอบไปองค์กรแต่ละส่วนนี้ เป็นไปตามหลักการประชาธิปไตย ที่ไม่ต้องการให้มีการรวมอำนาจแต่ต้องการให้มีการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน เพราะถ้าให้องค์กรใดเป็นผู้ใช้อำนาจมากกว่าหนึ่งส่วนแล้วอาจเป็นช่องทางให้เกิดการใช้อำนาจแบบเผด็จการได้ เช่น ถ้าให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติและอำนาจบริหาร คณะรัฐมนตรีก็อาจจะออกกฎหมายที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และนำกฎหมายนั้นไปบังคับใช้เพื่อประโยชน์ของตนเพียงฝ่ายเดียว การแยกอำนาจนั้นเป็นหลักประกันให้มีการค้านอำนาจซึ่งกันและกัน และป้องกันการใช้อำนาจเผด็จการ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Democracy in
.As already mentioned. The Constitution and constitutional government of every newspaper announced his intention clear to Thailand has a democratic government with the king as head of state. Which can analyze distinguish important principles.1.The sovereignty and the sovereignty The Constitution and the constitution of all the newspapers. The sovereignty, which is the highest power in the government. A discrimination using into 3 parts: legislative power, or power in legislation.Or power of law enforcement And the unicorn public and judicial power. Or jurisdiction in accordance with the law. When a conflict occurs, the organization of power both 3 this part is the parliament.The government or cabinet is the executive and user, as a user, judicial court. The king of kings in the assignment of separation using sovereignty into 3 section and a 3 Organization Department.In accordance with the principles of democracy. Who does not want to have a unitary authority but want to have a balance of power balancing each other.As if the cabinet is the legislative power and the executive power. The cabinet may be inconsistent with the needs of the people. The law enforcement for the benefit of their just one-sided.And prevent the dictatorship
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: