9. อภิปรายผลการวิจัย จากการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอา การแปล - 9. อภิปรายผลการวิจัย จากการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอา อังกฤษ วิธีการพูด

9. อภิปรายผลการวิจัย จากการพัฒนาชุด

9. อภิปรายผลการวิจัย
จากการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนวัดวังไคร้
(วชิรานุกูลประชาสรรค์) อภิปรายผลการทดลองได้ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเพราะ
1.1 กิจกรรมที่นำมาประกอบกันเป็นชุดเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์โครงสร้างของชุดที่
มุ่งพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ครอบคลุมองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านดี เก่ง และสุข โดยกิจกรรม
ที่พัฒนาองค์ประกอบด้านดี ได้แก่ กิจกรรมที่ 2 - กิจกรรมที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเองรู้จักเห็นใจผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
ด้านเก่ง ได้แก่ กิจกรรมที่ 7 – กิจกรรมที่ 10 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถรู้จักตนเอง
มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาและแสดงออกได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
และด้านสุข ได้แก่ กิจกรรมที่ 11 – กิจกรรมที่ 13 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถ
ในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งโครงสร้างของชุดกิจกรรมสอดคล้องกับหลักในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
ของเดเนียล โกลแมน ( อ้างถึงใน กรมสุขภาพจิต 2544 : 31 – 33) ที่กล่าวถึงแนวทางในการพัฒนาความฉลาด
ทางอารมณ์ว่า ควรจะ พัฒนาให้รู้จักอารมณ์ของตนเอง พัฒนาการจัดการอารมณ์ของตนเอง พัฒนาการสร้างแรงจูงใจ
พัฒนาการหยั่งรู้อารมณ์ของผู้อื่นและพัฒนาการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น นอกจากนี้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้าง
ความฉลาดทางอารมณ์ที่สร้างขึ้นได้ผ่านการตรวจสอบการหาประสิทธิภาพโดยนำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน
ทำการประเมินความตรงเชิงเนื้อหาและความตรงเชิงโครงสร้าง ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ที่ 0.95 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์
ที่ยอมรับได้ อีกทั้งยังผ่านการทดลองใช้โดยนักเรียนที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาปรับปรุง
ให้ชุดกิจกรรมมีความสอดคล้องทั้งด้านเนื้อหา เวลา ตลอดจนกระบวนการดำเนินกิจกรรมและภาษาที่ใช้
ซึ่งเมื่อจัดกิจกรรมครบทั้ง 14 กิจกรรม ก็จะช่วยพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนให้เพิ่มขึ้นได้
1.2 กิจกรรมต่าง ๆ ในชุดกิจกรรมเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมที่เน้นการเรียนรู้
เชิงประสบการณ์ อาศัยหลักการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญรูปแบบของกิจกรรมจึงเป็นการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สร้างความรู้จากประสบการณ์เดิม และเรียนรู้จากการปฏิบัติโดยร่วมกันคิดและอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ตลอดจนวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมและสาระการเรียนรู้ที่เป็นนามธรรมจนกระทั่งสามารถ
สรุปสาระสู่การนำไปใช้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมจะเน้นให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมเป็นกลุ่มเล็ก ๆ
3-4 คนก่อน จากนั้นแต่ละกลุ่มจึงร่วมกันอภิปรายและสรุปสาระเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนแต่ละคนได้มีส่วนร่วมสูงสุด
ส่วนการดำเนินกิจกรรมจะประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ขั้นสะท้อนกลับการรับรู้
ขั้นสรุปสาระสู่ชีวิต และขั้นคิดและนำไปปฏิบัติ โดยในทุกขั้นตอนของกิจกรรมจะกระตุ้นให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกคน
ทำตัวเป็น “ผู้ร่วมกิจกรรม” มิใช่เป็นเพียง “ผู้สังเกตการณ์” ซึ่งเป็นหลักในการจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย จนถึงขั้น
เสริมสร้างความเจริญแห่งตนเองของผู้รับบริการตามแนวคิดของลักเนอร์ และแนดเลอร์ (1997) ในขั้นแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์นักเรียนจะได้เล่นเกม บทบาทสมมติ ทำกิจกรรมสถานการณ์จำลอง ฟัง/อ่านกรณีศึกษา ค้นคว้า
เล่าอดีต เล่าเรื่อง แบ่งปันประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสาระหรือจุดมุ่งหมายของกิจกรรม เช่น การเล่น เกมทายอารมณ์
(กิจกรรมที่ 4 รู้นะคิดอะไรอยู่) ขั้นสะท้อนกลับการรับรู้ นักเรียนจะได้แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผล
จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เพื่อหาคำตอบว่าเกิดอะไรขึ้น เช่น การวิเคราะห์ผลการสำรวจอารมณ์ของตนเอง
(กิจกรรมที่ 2 อารมณ์ไหนรู้ไหมเอ่ย) ขั้นสรุปสาระสู่ชีวิต นักเรียน จะร่วมกันสร้างองค์ความรู้หรือสรุปสาระการเรียนรู้
จากอภิปราย อาจมีการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของสาระการเรียนรู้และในขั้นคิดและนำไปปฏิบัติ
นักเรียนก็จะได้ทดลองและประยุกต์ใช้สาระการเรียนรู้สู่ชีวิตโดยอาจทดลองแก้ปัญหาสถานการณ์จำลอง สร้างคำขวัญ
วางแผนพัฒนาตน จูงใจตนเองในการปฏิบัติตามแผน เช่น การสร้างคำขวัญหรือคำคมที่แสดงถึงการใช้อารมณ์ขัน
ให้เป็นประโยชน์(กิจกรรมที่ 4 รู้นะคิดอะไรอยู่) ซึ่งรูปแบการจัดกิจกรรมดังกล่าวเป็นการเรียนรู้ที่นักการศึกษาให้การยอมรับ
ว่าจะสามารถเสริมสร้างผู้รับบริการทั้งกระบวนการคิดและการปฏิบัติ (อุษา พึ่งธรรม และคณะ 2544 : 13) อีกทั้งยังพบว่า
การจัดกิจกรรมแนะแนวในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้หลักของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมที่เน้นรูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
ให้ผู้รับบริการค้นพบและเกิดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่มจะช่วยให้ผู้รับบริการค้นพบและเกิดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ
กลุ่มจะช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่พึงประสงค์ได้ เช่น เจษฎา บุญมาโฮม (2544 : 34)
ทำการวิจัยเรื่องผลของโปรแกรมการแนะแนวกลุ่มที่มีต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนราชวินิต บางเขนกรุงเทพมหานคร ปรากฏว่า ภายหลังการทดลองนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคะแนน
ความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้น ดังนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่าชุดกิจกรรมแนะแนวที่ได้พัฒนาขึ้นตามหลักของการเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วมโดยเน้นรูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์เป็นชุดกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพสามารถพัฒนาลักษณะที่
พึงประสงค์ของผู้รับบริการให้เพิ่มขึ้นได้
2. ผลการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ พบว่านักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคะแนน
ความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้นกว่าก่อนได้ร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นเพราะ
2.1 กิจกรรมที่สร้างและพัฒนาขึ้นประกอบกันเป็นชุดกิจกรรม มุ่งพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ครอบคลุม
ทั้งด้าน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
9. discuss the research results. From developing activities to strengthen the emotional intelligence of college students in the grade 3 WAT Wang khrai.(Wachi first-rate Gu lopracha creativity) to discuss the trial results are as follows: 1. a series of activities to enhance emotional intelligence that created powerful because. 1.1 activities that bring together a series of emotional intelligence to strengthen the structure of the series.Focus on developing emotional intelligence encompasses all elements of skillful side is 3 and by activity.The development of the great elements: 2 activities-activities that are intended to develop 6 participants.Have the ability to temper their demands and meet other players and have a global responsibility?The good: 7 activities – activities that are intended to develop 10 participants can recognize ourselves. Have a motivation problem solving and decision making can be displayed more efficiently, as well as having a good relationship with others.And the happy: 11 activities – activities that are 13 aims to develop competencies.Life happily, the structure of a series of activities in accordance with the principles in the development of emotional intelligence. De Gaulle, nil's man (referring to the mental health department, 2544 (2001): 31-33), which discussed the guidelines in the development of intelligence.Emotional development should be to recognize their own emotions Manage your own emotional development. Development of motivation Intuition the mood of others and to develop a relationship with someone else. In addition, guidance activity set to strengthenEmotional intelligence that is created through examining the performance by the lead Councillors. The number of 5 persons. To assess the strategic, content and direct structural consistency index value is 0.95, which lies in the basis.Also accepted through trial by a student who looks close to the sample data that is to be updated.To set an activity is consistent throughout the content. From time to time, as well as the processes and activities. When all 14 events, activities, it helps develop emotional intelligence of students increased. 1.2 activities. In a series of activities focusing on the students to participate in learning with an emphasis on learning.The main living-learning experience-based learning is an important form of activity is to give participants.Build knowledge from experience and learning from practice by sharing ideas and discussions to exchange ideas. As well as analysis for the relationship between physical activity and learning abstracts abstract until you can.Summary of projections to apply manually, in which activities will focus on providing students with small group activities are operating together. 3-4 people, and then each group is together to discuss and summarize opinion to open opportunities for each student to contribute to maximum. The activities section contains 4 step is reflection of experience exchange stage recognition procedure. Summary stage performances to life and thought and implemented in every stage of an activity to encourage students to participate in every activity.Make a "joint event", not just "observers", which is the main activity, achieve the goal until the final.Strengthen the prosperity of ourselves, of our services based on the concept of luxury and advanced color naet Exchange (1997)Experience of students will be able to play the game, assuming the role. The scenario activities, listen to/read case study research. Historical story to tell, share experience related to the subject matter or the aim of the activity, such as playing a. Guess the mood (I know what thinking 4 activities are) resounding recognition stage. Students will analyze the comments into consideration for a reason.From the exchange of experience in order to find answers to what happens, for example, to analyze the survey results to their own mood. (I know emotions 2 activities mentioned) Summary stage performances to life. Students will create a shared body of knowledge or learning strand summary.From the discussion, there may be a theoretical and conceptual study more for completeness of the strand, and in the process, and implemented. Students will be able to experiment and applied learning subject matter to life by may try workaround scenario. Create a motto. Planning to develop their own incentive to follow the plan, such as creating a slogan or words that represent a sharp humor.To be useful (I know 4 activities what is thinking), which of these events is to provide educators learn to accept.How to strengthen the service's entire thought process and practices (reliance and thewphaingarm 2544 (2001) Board: 13) also found that.Guidance activities in various formats by using the taught master participation focused on Computational learning model experience.The service people to discover and learn through a group helps clients discover and learn. Through aThe group will help patients results in a change in the way that spam is like chasada I came home (2544 (2001): 34) Research about the effect of group guidance program towards the development of emotional intelligence of the students Grade 4.The school winit of Bang Khen, Bangkok, the later experiments of students who participate in an activity score.Higher emotional intelligence so it can be said that the series of activities guide was developed based on principles of learning.Cooperative learning model with an emphasis on in-depth experience of a series of activities that can effectively improve the behavior. The recipient's spam can be increased. 2. results of the activities to develop the emotional intelligence. Found that students who participate in an activity scoreHigher emotional intelligence than before have statistical significant activity at the .01 level, because. 2.1 activities created and developed together a series of activities aimed at developing emotional intelligence covers.Both sides
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
9. อภิปรายผลการวิจัย
จากการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนวัดวังไคร้
(วชิรานุกูลประชาสรรค์) อภิปรายผลการทดลองได้ดังนี้
1. ชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเพราะ
1.1 กิจกรรมที่นำมาประกอบกันเป็นชุดเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์โครงสร้างของชุดที่
มุ่งพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ครอบคลุมองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านดี เก่ง และสุข โดยกิจกรรม
ที่พัฒนาองค์ประกอบด้านดี ได้แก่ กิจกรรมที่ 2 - กิจกรรมที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเองรู้จักเห็นใจผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
ด้านเก่ง ได้แก่ กิจกรรมที่ 7 – กิจกรรมที่ 10 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถรู้จักตนเอง
มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาและแสดงออกได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
และด้านสุข ได้แก่ กิจกรรมที่ 11 – กิจกรรมที่ 13 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถ
ในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งโครงสร้างของชุดกิจกรรมสอดคล้องกับหลักในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
ของเดเนียล โกลแมน ( อ้างถึงใน กรมสุขภาพจิต 2544 : 31 – 33) ที่กล่าวถึงแนวทางในการพัฒนาความฉลาด
ทางอารมณ์ว่า ควรจะ พัฒนาให้รู้จักอารมณ์ของตนเอง พัฒนาการจัดการอารมณ์ของตนเอง พัฒนาการสร้างแรงจูงใจ
พัฒนาการหยั่งรู้อารมณ์ของผู้อื่นและพัฒนาการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น นอกจากนี้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้าง
ความฉลาดทางอารมณ์ที่สร้างขึ้นได้ผ่านการตรวจสอบการหาประสิทธิภาพโดยนำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน
ทำการประเมินความตรงเชิงเนื้อหาและความตรงเชิงโครงสร้าง ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ที่ 0.95 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์
ที่ยอมรับได้ อีกทั้งยังผ่านการทดลองใช้โดยนักเรียนที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาปรับปรุง
ให้ชุดกิจกรรมมีความสอดคล้องทั้งด้านเนื้อหา เวลา ตลอดจนกระบวนการดำเนินกิจกรรมและภาษาที่ใช้
ซึ่งเมื่อจัดกิจกรรมครบทั้ง 14 กิจกรรม ก็จะช่วยพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนให้เพิ่มขึ้นได้
1.2 กิจกรรมต่าง ๆ ในชุดกิจกรรมเน้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมที่เน้นการเรียนรู้
เชิงประสบการณ์ อาศัยหลักการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญรูปแบบของกิจกรรมจึงเป็นการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สร้างความรู้จากประสบการณ์เดิม และเรียนรู้จากการปฏิบัติโดยร่วมกันคิดและอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ตลอดจนวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมและสาระการเรียนรู้ที่เป็นนามธรรมจนกระทั่งสามารถ
สรุปสาระสู่การนำไปใช้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งในการดำเนินกิจกรรมจะเน้นให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมเป็นกลุ่มเล็ก ๆ
3-4 คนก่อน จากนั้นแต่ละกลุ่มจึงร่วมกันอภิปรายและสรุปสาระเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนแต่ละคนได้มีส่วนร่วมสูงสุด
ส่วนการดำเนินกิจกรรมจะประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ขั้นสะท้อนกลับการรับรู้
ขั้นสรุปสาระสู่ชีวิต และขั้นคิดและนำไปปฏิบัติ โดยในทุกขั้นตอนของกิจกรรมจะกระตุ้นให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกคน
ทำตัวเป็น “ผู้ร่วมกิจกรรม” มิใช่เป็นเพียง “ผู้สังเกตการณ์” ซึ่งเป็นหลักในการจัดกิจกรรมให้บรรลุเป้าหมาย จนถึงขั้น
เสริมสร้างความเจริญแห่งตนเองของผู้รับบริการตามแนวคิดของลักเนอร์ และแนดเลอร์ (1997) ในขั้นแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์นักเรียนจะได้เล่นเกม บทบาทสมมติ ทำกิจกรรมสถานการณ์จำลอง ฟัง/อ่านกรณีศึกษา ค้นคว้า
เล่าอดีต เล่าเรื่อง แบ่งปันประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสาระหรือจุดมุ่งหมายของกิจกรรม เช่น การเล่น เกมทายอารมณ์
(กิจกรรมที่ 4 รู้นะคิดอะไรอยู่) ขั้นสะท้อนกลับการรับรู้ นักเรียนจะได้แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผล
จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เพื่อหาคำตอบว่าเกิดอะไรขึ้น เช่น การวิเคราะห์ผลการสำรวจอารมณ์ของตนเอง
(กิจกรรมที่ 2 อารมณ์ไหนรู้ไหมเอ่ย) ขั้นสรุปสาระสู่ชีวิต นักเรียน จะร่วมกันสร้างองค์ความรู้หรือสรุปสาระการเรียนรู้
จากอภิปราย อาจมีการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของสาระการเรียนรู้และในขั้นคิดและนำไปปฏิบัติ
นักเรียนก็จะได้ทดลองและประยุกต์ใช้สาระการเรียนรู้สู่ชีวิตโดยอาจทดลองแก้ปัญหาสถานการณ์จำลอง สร้างคำขวัญ
วางแผนพัฒนาตน จูงใจตนเองในการปฏิบัติตามแผน เช่น การสร้างคำขวัญหรือคำคมที่แสดงถึงการใช้อารมณ์ขัน
ให้เป็นประโยชน์(กิจกรรมที่ 4 รู้นะคิดอะไรอยู่) ซึ่งรูปแบการจัดกิจกรรมดังกล่าวเป็นการเรียนรู้ที่นักการศึกษาให้การยอมรับ
ว่าจะสามารถเสริมสร้างผู้รับบริการทั้งกระบวนการคิดและการปฏิบัติ (อุษา พึ่งธรรม และคณะ 2544 : 13) อีกทั้งยังพบว่า
การจัดกิจกรรมแนะแนวในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้หลักของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมที่เน้นรูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
ให้ผู้รับบริการค้นพบและเกิดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่มจะช่วยให้ผู้รับบริการค้นพบและเกิดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ
กลุ่มจะช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่พึงประสงค์ได้ เช่น เจษฎา บุญมาโฮม (2544 : 34)
ทำการวิจัยเรื่องผลของโปรแกรมการแนะแนวกลุ่มที่มีต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนราชวินิต บางเขนกรุงเทพมหานคร ปรากฏว่า ภายหลังการทดลองนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคะแนน
ความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้น ดังนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่าชุดกิจกรรมแนะแนวที่ได้พัฒนาขึ้นตามหลักของการเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วมโดยเน้นรูปแบบการเรียนรู้เชิงประสบการณ์เป็นชุดกิจกรรมที่มีประสิทธิภาพสามารถพัฒนาลักษณะที่
พึงประสงค์ของผู้รับบริการให้เพิ่มขึ้นได้
2. ผลการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ พบว่านักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคะแนน
ความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้นกว่าก่อนได้ร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นเพราะ
2.1 กิจกรรมที่สร้างและพัฒนาขึ้นประกอบกันเป็นชุดกิจกรรม มุ่งพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ครอบคลุม
ทั้งด้าน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
9. Discuss the result! From the development of activities to strengthen the emotional intelligence of students grade school 3. Wang khrai
(b general public creativity). Discussion on the experimental results are as follows:
1.The set of activities to enhance the emotional intelligence effectively because
1.1 ที่นำมา contains a set of activities to enhance emotional intelligence structure of the set
.Focus on the development of emotional intelligence covers the elements of both 3 aspects of good and happy. โดยกิ activities that develop the good
; 2 activities - activities that 6 aims to develop participants
.Has the ability to control emotions and their needs known compassion for others and have the responsibility to society!The good: 7 activities - activities that 10 aims to develop the event can recognize self
.Motivation can be decided and effectively solve expression as well as a good relationship with others, and include
health activities 11 - The activities 13 aims to develop the talent
.Living happily. The structure of the series of activities in accordance with the principles of development of emotional intelligence
of Daniel Goldman (referred to in the mental health department 2544: 31 - 33) discusses the development of the intelligent
.The mood that should develop to their emotions. Management development of your own emotions. The development motivation
.Development enlighten the emotions of others and development have relationship with others. The guidance activities to strengthen the
.Emotional intelligence is built have passed the inspection efficiency by the experts of 5 you
was assessed content validity, construct validity and The consistency index in 0.95 which remained
.Acceptable. Also, through the evaluation by students with similar groups of samples to analyzed improvement
.For a set of activities are consistent in both contents and time, as well as the process activities, language use.
the activities of all 14 activities. It will help develop the emotional intelligence of students to increase by
1.2 various activities in the series of activities focusing on the student's learning, which focuses on the experiential learning. Based on the principle of student-centered learning patterns of activity is to allow participants to activities
.Knowledge from experience ever. And learn from the practice to share ideas and discussion to discuss
.As well as the relationship between learning activities is concrete and abstract the
.Sum up the application manually. Which of the activities will focus on students to share activities are a small
.3-4 people first, then each group was together discuss and sum up to allow each student participation maximum.
the activities will consist of 4 steps: exchange of experience; reflect perceived
.Conclusion the essence to life, and the thought and the practice. Every steps of activities to encourage students to participate in activities, everyone!Acting as "the activity", not a "observers". Which is the main activities to achieve a
.Strengthen the prosperity of their clients according to the concept of Luckner and Nadler (1997) in ขั้นแลกเปลี่ยน
experience, students will play the game. Role play activity simulation reading / listening case study research
.Tell the story, share experiences associated with the subject or the aim of activities such as playing the game emotion
.I know what you are thinking 4 (activity) the reflection perception. Students will comment analysis considering reason
.From the exchange of experience to find out what's going on, such as the analysis of the survey result of your own emotions
.(activities 2 mood know say) the sum up to life, students will create knowledge or summary learning
.From the discussion of theories and concepts, there may be more to the integrity of the learning and the thinking and practical
.Students can experiment and application of learning to life by may solve สถานการณ์จำลอง build experimental slogans
plan improve their motivation in their execution. Such as creating a gift or quotes the humorous
.Useful (activities 4 I know what you are thinking). That figure carrying organized activities such as learning that educators accepted
.To be able to strengthen the whole thinking process and Practice (USA, rely on nature and of the 2544: 13) Moreover
.Guidance activities in various forms by using principles of participatory learning emphasizes the form of experiential learning
.Make clients discover and learn through group process to help clients find economic learning through the process!The group will help clients change to the desirable characteristics, such as stressing the merit come home (2544: 34)
research about effect of group guidance on the development of emotional quotient of College Students 4
.Bangkok Metropolis appear ratwinit. The experimental students participating in activities of emotional intelligence scores
rise. Therefore, it can be said that the guidance activities was developed according to the principle of learning!Cooperative focusing on experiential learning is a series of activities can effectively develop the style.
of desirable service recipients to increase by
2.The effects of using a series of activities to develop emotional intelligence. It was found that the students who participate in emotional intelligence scores higher than before the
กิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญ statistical level. 01 because
2.1 activities that create and develop contains a set of activities. Focus on the development of emotional intelligence, covering both the
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: