กลุ่มชาติพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซ การแปล - กลุ่มชาติพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซ มาเลย์ วิธีการพูด

กลุ่มชาติพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศฟิล

กลุ่มชาติพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์
โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน

ภาคใต้ของฟิลิปปินส์นั้นมีสภาพปัญหาทาง การเมืองที่คล้ายคลึงกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ เกาะมินดาเนาและหมู่เกาะซูลูมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์กับประเทศบรูไน มาเลเซีย และอินโดเนเซีย พื้นที่ภาคใต้ฟิลิปปินส์นั้นในอดีตมีการใช้ระบบสุลต่าน บรรดารัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองนั้นมีหลายรัฐ เช่น รัฐซูลู รัฐมากินดาเนา รัฐบัวยัน เป็นต้น

ในบริเวณภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ โดยเฉพาะเกาะมินดาเนา มีประชากรหลากหลายกลุ่มชนเผ่า นักวิชาการได้แบ่งกลุ่มชนในบริเวณดังกล่าวออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

1.กลุ่มชาวฟิลิปปินส์คริสต์ ซึ่งก็มีหลากหลายชนเผ่าด้วยกัน
2.กลุ่มชาวมุสลิมในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ประกอบไปด้วยหลากหลายชนเผ่า ที่ใช้ชื่อเรียกรวมกันว่า ชาวโมโร (Moro)
3.กลุ่มชนพื้นเมืองที่มีหลากหลายชนเผ่า เรียกรวมกันว่า Lumad

การ ที่ภาคใต้ของฟิลิปปินส์ประกอบด้วย 3 กล่มใหญ่ ๆ และแต่ละกลุ่มนั้นยังแบ่งออกเป็นชนเผ่าต่างๆ ทำให้พื้นที่ภาคใต้ฟิลิปปินส์มีความหลากหลายทางชนเผ่า มีความหลากหลายทางภาษา มีการสำรวจกลุ่มชนเผ่าที่ใช้ภาษาต่างๆในภาคใต้ฟิลิปปินส์

กลุ่มชนพื้นเมือง Lumad
มาจากคำเต็มว่า Katawhang Lumad ซึ่งแปลว่า คนพื้นเมืองดั้งเดิม คำนี้ใช้มาตั้งแต่ 20 กว่าปีที่ผ่านมา เป็นการใช้เมื่อครั้งที่มีการประชุมของคนพื้นเมืองดั้งเดิม ซึ่งจัดโดย The Lumad Mindanaw People Federation (LMPF) เมื่อ 26 มิถุนายน 1983 โดยให้คำนิยามของคำว่า Lumad หมายถึงคนพื้นเมืองเกาะมินดาเนาที่ไม่ใช่ชาวมุสลิมหรือชาวคริสต์




ฟิลิปิโน
ชนเผ่าดั้งเดิมฟิลิปิโนนั้นมีหลายเผ่า เป็นแขนงของชนเผ่าออสโตรนีเซียนจากทางใต้ กลุ่มเดียวกับที่เคลื่อนย้ายขึ้นมาตั้งรกรากบนเกาะไต้หวัน ญี่ปุ่นและไกลออกไป เนิ่นนานตั้งแต่หลังยุคน้ำแข็งสิ้นสุด น่าเสียดายที่ภายหลังถูกยึดครองกลายเป็นอาณานิคมของเสปนอย่างยาวนาน ตามมาด้วยชาวอเมริกันที่พิชิตเสปนและครองอาณานิคมต่างๆ แทน ในเวลาต่อมา วัฒนธรรมของชาวอเมริกันยูโรเปียนจึงเข้ามามีอิทธิพลเหนือดินแดนแห่งนี้ อัตลักษณ์ของชนเผ่าดั้งเดิมก็เลย ถูกกลืนจนเสื่อมลงไปอย่างมากในเวลาที่ผ่านไป
ยังพอมีความหวังอยู่บ้าง ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ยังคงพอรักษาเอาไว้ได้ ก็ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาในระยะหลัง ในท่ามกลางกระแสตื่นตัวทางวัฒนธรรม ผู้คนยุคใหม่ก็เริ่มมองกลับไปหารากของตน และปลุกสำนึกรักในชนเผ่าขึ้นมา อีกครั้ง ลูกหลานชนเผ่าฟิลิปิโนรุ่นใหม่ เริ่มกลับไปทำกิจกรรมที่เป็นประเพณีเก่าแก่ของตนมากขึ้น เช่นการแต่งกายแบบพื้นเมือง ดนตรีและนาฏศิลป์ หรือวัฒนธรรมอย่างเช่นการสักร่างกายด้วยลวดลายพื้นเมืองแบบโพลีนีเซียน เป็นต้น
ชนเผ่าฟิลิปิโนมีหลายเผ่าด้วยกัน อย่างเช่น อิวาตัน อิโลคาโน อิบานัก เอตา อติ แอมบอล ตากาล็อก บิโคลาโน แมงยัน ลูมัด กลุ่มอิโกรอท ประกอบด้วยเผ่าย่อยๆ เช่น บอนท็อค อิวาโลอิ อิฟูกาโอ อิสเนก กาลิงกะ กานกานาเอ กลุ่มพาลาวัน ประกอบด้วยเผ่าย่อยๆ คือ บาตั๊ก พาลาเวโนส และตั๊กบานัว เป็นต้น
ชนเผ่าเดิมของฟิลิปปินส์ คือ นิโกรโตส์ (Negritos) อพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย ต่อมาชนเผ่าอินโดนีเซียได้เข้ามาอยู่ในประเทศนี้ เป็นพวกเชื้อชาติมองโมลอยด์ ผสมคอเคเซียน ที่มีเหลืออยู่ในฟิลิปปินส์ ได้แก่ พวกอีลองโกทส์ ต่อมาชนเผ่ามาเลย์ (Melags) เข้ามาอาศัยอยู่ พวกมาเลย์ได้มีการติดต่อทางวัฒนธรรมกับพวกอินเดีย จีน อาหรับมาแล้ว จึงมีการปกครอง กฎหมาย ศาสนา วรรณคดี ศิลป วิทยาศาสตร์เป็นของตนเอง พวกมาเลย์อพยพเข้ามาฟิลิปปินส์ หลายครั้ง ครั้งที่ 2 ถือว่าเป็นบรรพบุรุษของพวกตากาล็อค วิสายัน อีโกกาโน ปอมปังโก และพวก ฟิลิปปินส์ที่นับถือศาสนาคริสต์ ส่วนพวกที่เข้ามาครั้งที่ 3 จะนับถือศาสนาพระมะหะหมัด เป็น บรรพบุรุษของพวกฟิลิปปินโน – มุสลิม อยู่ในเกาะมินดาเนา และซูลู ฟิลิปปินส์เป็นศูนย์กลางการค้าแห่งเอเซีย มีประเทศในเอเซียและตะวันออกไกลเข้ามาทำ การค้าขายด้วย จนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 พวกแขกมะหะหมัดแผ่อิทธิพลเข้ามา การค้าขายกับ ประเทศเพื่อนบ้านในเอเซียลดน้อยลง จนกระทั่งชาวสเปนเข้ามา แล้วได้ทราบว่าวัฒนธรรมและ ความเป็นอยู่ของชาวฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย จีน และชาวอาหรับ




ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์
วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่จะได้รับอิทธิพลจากสเปน จีน และอเมริกัน ฟิลิปปินส์มีเทศกาลที่สำคัญ ได้แก่

*เทศกาลอาติ – อาติหาน (Ati - Atihan)
จัดขึ้นเพื่อรำลึกและแสดงความเคารพต่อ “เอตาส (Aetas)” ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งในฟิลิปปินส์ และรำลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบชนเผ่าเอตาส แล้วออกมารำรื่นเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู (Kalibu)

*เทศกาลซินูล็อก (Sinulog)
งานนี้จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือนมกราคมทุกปี เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) โดยจะจัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรดแฟนซีทั่วเมืองเซบู (Cebu)

*เทศกาลดินาญัง (Dinayang)
งานนี้จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) เช่นเดียวกับเทศกาลซินูล็อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมืองอิโลอิโย (Iloilo)
ดนตรีและศิลปะฟิลิปปินส์
ดนตรีและศิลปะชาวฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากทั้งสองวัฒนธรรมที่มีการย้ายไป ยังประเทศนี้ ประเภทแรกของเพลงที่พัฒนาขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์เป็นเพลงพื้นเมืองที่อพยพมา จากไต้หวัน ลักษณะภาคใต้ ภาคเหนืออื่นๆ ลักษณะและรูปแบบลักษณะจะมีสามกลุ่มพื้นฐานของดนตรีพื้นเมือง สไตล์ภาคใต้ของเพลงมักจะเกี่ยวข้องกับการใช้ที่แตกต่างกันรวมทั้งห้า Kulintang,Agung,Gangdinagan,Dabakan และ Babedil รูปแบบของดนตรีพื้นบ้านเภาคเหนือของเพลงสะท้อนให้เห็นถึงฆ้องเอเซีย เพลงของพวกเขามักจะมีฆ้อง Unbossed เรียกว่า Gangsa นอกเหนือจากเครื่องมือที่ใช้ในภาคใต้และภาคเหนือของสไตล์ดนตรี อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในประเทศฟิลิปปินส์รวมถึงการเข้าสู่ระบบกลอง ปี่ zithers ไม้ไผ่และ Kudyapi

KULINTANG AGUNG

DABAKAN GANGSA ZITHERS

KUDYAPI
สเปนและโปรตุเกสวัฒนธรรมจากสเปนและเม็กซิโกมีอิทธิพลอย่างยิ่งการ พัฒนาของฟิลิปปินส์ วัฒนธรรมเหล่านี้ได้นำรูปแบบดนตรี Harana Kundiman และ Rondalla ส่วนใหญ่ของเหล่านี้รูป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (มาเลย์) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กลุ่มชาติพันธุ์ในภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์
โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน

ภาคใต้ของฟิลิปปินส์นั้นมีสภาพปัญหาทาง การเมืองที่คล้ายคลึงกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ เกาะมินดาเนาและหมู่เกาะซูลูมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์กับประเทศบรูไน มาเลเซีย และอินโดเนเซีย พื้นที่ภาคใต้ฟิลิปปินส์นั้นในอดีตมีการใช้ระบบสุลต่าน บรรดารัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองนั้นมีหลายรัฐ เช่น รัฐซูลู รัฐมากินดาเนา รัฐบัวยัน เป็นต้น

ในบริเวณภาคใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ โดยเฉพาะเกาะมินดาเนา มีประชากรหลากหลายกลุ่มชนเผ่า นักวิชาการได้แบ่งกลุ่มชนในบริเวณดังกล่าวออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

1.กลุ่มชาวฟิลิปปินส์คริสต์ ซึ่งก็มีหลากหลายชนเผ่าด้วยกัน
2.กลุ่มชาวมุสลิมในภาคใต้ของฟิลิปปินส์ประกอบไปด้วยหลากหลายชนเผ่า ที่ใช้ชื่อเรียกรวมกันว่า ชาวโมโร (Moro)
3.กลุ่มชนพื้นเมืองที่มีหลากหลายชนเผ่า เรียกรวมกันว่า Lumad

การ ที่ภาคใต้ของฟิลิปปินส์ประกอบด้วย 3 กล่มใหญ่ ๆ และแต่ละกลุ่มนั้นยังแบ่งออกเป็นชนเผ่าต่างๆ ทำให้พื้นที่ภาคใต้ฟิลิปปินส์มีความหลากหลายทางชนเผ่า มีความหลากหลายทางภาษา มีการสำรวจกลุ่มชนเผ่าที่ใช้ภาษาต่างๆในภาคใต้ฟิลิปปินส์

กลุ่มชนพื้นเมือง Lumad
มาจากคำเต็มว่า Katawhang Lumad ซึ่งแปลว่า คนพื้นเมืองดั้งเดิม คำนี้ใช้มาตั้งแต่ 20 กว่าปีที่ผ่านมา เป็นการใช้เมื่อครั้งที่มีการประชุมของคนพื้นเมืองดั้งเดิม ซึ่งจัดโดย The Lumad Mindanaw People Federation (LMPF) เมื่อ 26 มิถุนายน 1983 โดยให้คำนิยามของคำว่า Lumad หมายถึงคนพื้นเมืองเกาะมินดาเนาที่ไม่ใช่ชาวมุสลิมหรือชาวคริสต์




ฟิลิปิโน
ชนเผ่าดั้งเดิมฟิลิปิโนนั้นมีหลายเผ่า เป็นแขนงของชนเผ่าออสโตรนีเซียนจากทางใต้ กลุ่มเดียวกับที่เคลื่อนย้ายขึ้นมาตั้งรกรากบนเกาะไต้หวัน ญี่ปุ่นและไกลออกไป เนิ่นนานตั้งแต่หลังยุคน้ำแข็งสิ้นสุด น่าเสียดายที่ภายหลังถูกยึดครองกลายเป็นอาณานิคมของเสปนอย่างยาวนาน ตามมาด้วยชาวอเมริกันที่พิชิตเสปนและครองอาณานิคมต่างๆ แทน ในเวลาต่อมา วัฒนธรรมของชาวอเมริกันยูโรเปียนจึงเข้ามามีอิทธิพลเหนือดินแดนแห่งนี้ อัตลักษณ์ของชนเผ่าดั้งเดิมก็เลย ถูกกลืนจนเสื่อมลงไปอย่างมากในเวลาที่ผ่านไป
ยังพอมีความหวังอยู่บ้าง ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ยังคงพอรักษาเอาไว้ได้ ก็ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาในระยะหลัง ในท่ามกลางกระแสตื่นตัวทางวัฒนธรรม ผู้คนยุคใหม่ก็เริ่มมองกลับไปหารากของตน และปลุกสำนึกรักในชนเผ่าขึ้นมา อีกครั้ง ลูกหลานชนเผ่าฟิลิปิโนรุ่นใหม่ เริ่มกลับไปทำกิจกรรมที่เป็นประเพณีเก่าแก่ของตนมากขึ้น เช่นการแต่งกายแบบพื้นเมือง ดนตรีและนาฏศิลป์ หรือวัฒนธรรมอย่างเช่นการสักร่างกายด้วยลวดลายพื้นเมืองแบบโพลีนีเซียน เป็นต้น
ชนเผ่าฟิลิปิโนมีหลายเผ่าด้วยกัน อย่างเช่น อิวาตัน อิโลคาโน อิบานัก เอตา อติ แอมบอล ตากาล็อก บิโคลาโน แมงยัน ลูมัด กลุ่มอิโกรอท ประกอบด้วยเผ่าย่อยๆ เช่น บอนท็อค อิวาโลอิ อิฟูกาโอ อิสเนก กาลิงกะ กานกานาเอ กลุ่มพาลาวัน ประกอบด้วยเผ่าย่อยๆ คือ บาตั๊ก พาลาเวโนส และตั๊กบานัว เป็นต้น
ชนเผ่าเดิมของฟิลิปปินส์ คือ นิโกรโตส์ (Negritos) อพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย ต่อมาชนเผ่าอินโดนีเซียได้เข้ามาอยู่ในประเทศนี้ เป็นพวกเชื้อชาติมองโมลอยด์ ผสมคอเคเซียน ที่มีเหลืออยู่ในฟิลิปปินส์ ได้แก่ พวกอีลองโกทส์ ต่อมาชนเผ่ามาเลย์ (Melags) เข้ามาอาศัยอยู่ พวกมาเลย์ได้มีการติดต่อทางวัฒนธรรมกับพวกอินเดีย จีน อาหรับมาแล้ว จึงมีการปกครอง กฎหมาย ศาสนา วรรณคดี ศิลป วิทยาศาสตร์เป็นของตนเอง พวกมาเลย์อพยพเข้ามาฟิลิปปินส์ หลายครั้ง ครั้งที่ 2 ถือว่าเป็นบรรพบุรุษของพวกตากาล็อค วิสายัน อีโกกาโน ปอมปังโก และพวก ฟิลิปปินส์ที่นับถือศาสนาคริสต์ ส่วนพวกที่เข้ามาครั้งที่ 3 จะนับถือศาสนาพระมะหะหมัด เป็น บรรพบุรุษของพวกฟิลิปปินโน – มุสลิม อยู่ในเกาะมินดาเนา และซูลู ฟิลิปปินส์เป็นศูนย์กลางการค้าแห่งเอเซีย มีประเทศในเอเซียและตะวันออกไกลเข้ามาทำ การค้าขายด้วย จนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 พวกแขกมะหะหมัดแผ่อิทธิพลเข้ามา การค้าขายกับ ประเทศเพื่อนบ้านในเอเซียลดน้อยลง จนกระทั่งชาวสเปนเข้ามา แล้วได้ทราบว่าวัฒนธรรมและ ความเป็นอยู่ของชาวฟิลิปปินส์ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย จีน และชาวอาหรับ




ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศฟิลิปปินส์
วัฒนธรรมของฟิลิปปินส์เป็นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่จะได้รับอิทธิพลจากสเปน จีน และอเมริกัน ฟิลิปปินส์มีเทศกาลที่สำคัญ ได้แก่

*เทศกาลอาติ – อาติหาน (Ati - Atihan)
จัดขึ้นเพื่อรำลึกและแสดงความเคารพต่อ “เอตาส (Aetas)” ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่งในฟิลิปปินส์ และรำลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบชนเผ่าเอตาส แล้วออกมารำรื่นเริงบนท้องถนนในเมืองคาลิบู (Kalibu)

*เทศกาลซินูล็อก (Sinulog)
งานนี้จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือนมกราคมทุกปี เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) โดยจะจัดแสดงดนตรีและมีขบวนพาเหรดแฟนซีทั่วเมืองเซบู (Cebu)

*เทศกาลดินาญัง (Dinayang)
งานนี้จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) เช่นเดียวกับเทศกาลซินูล็อก แต่จะจัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมืองอิโลอิโย (Iloilo)
ดนตรีและศิลปะฟิลิปปินส์
ดนตรีและศิลปะชาวฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจากทั้งสองวัฒนธรรมที่มีการย้ายไป ยังประเทศนี้ ประเภทแรกของเพลงที่พัฒนาขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์เป็นเพลงพื้นเมืองที่อพยพมา จากไต้หวัน ลักษณะภาคใต้ ภาคเหนืออื่นๆ ลักษณะและรูปแบบลักษณะจะมีสามกลุ่มพื้นฐานของดนตรีพื้นเมือง สไตล์ภาคใต้ของเพลงมักจะเกี่ยวข้องกับการใช้ที่แตกต่างกันรวมทั้งห้า Kulintang,Agung,Gangdinagan,Dabakan และ Babedil รูปแบบของดนตรีพื้นบ้านเภาคเหนือของเพลงสะท้อนให้เห็นถึงฆ้องเอเซีย เพลงของพวกเขามักจะมีฆ้อง Unbossed เรียกว่า Gangsa นอกเหนือจากเครื่องมือที่ใช้ในภาคใต้และภาคเหนือของสไตล์ดนตรี อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในประเทศฟิลิปปินส์รวมถึงการเข้าสู่ระบบกลอง ปี่ zithers ไม้ไผ่และ Kudyapi

KULINTANG AGUNG

DABAKAN GANGSA ZITHERS

KUDYAPI
สเปนและโปรตุเกสวัฒนธรรมจากสเปนและเม็กซิโกมีอิทธิพลอย่างยิ่งการ พัฒนาของฟิลิปปินส์ วัฒนธรรมเหล่านี้ได้นำรูปแบบดนตรี Harana Kundiman และ Rondalla ส่วนใหญ่ของเหล่านี้รูป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: