ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนสภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ เศร การแปล - ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนสภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ เศร อังกฤษ วิธีการพูด

ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอ

ระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในกลุ่มอาเซียน

สภาพเศรษฐกิจของ 10 ประเทศ
เศรษฐกิจประเทศไทย
สภาพเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจหลักของประเทศได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การบริการ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ถือเป็นเศรษฐกิจหลักที่ทำรายได้ให้กับคนในประเทศ พบว่าค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ของประเทศเท่ากับ 245,659 พันล้านบาท และข้อมูลจาก การรายงานประจำปี 2549 กรมส่งเสริมการส่งออกชี้แจงว่า การค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยในปี 2549 มีมูลค่า 236,574.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีการส่งออกมูลค่า 129,744.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่วนการนำเข้าสินค้ามีมูลค่า 126,850.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีดุลการค้าเกินดุล 2,913.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นในทุกหมวด ทั้งสินค้าภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม นอกจากนี้กรมส่งเสริมการส่งออกยังมีทิศทางในการพัฒนาในระบบการบริหารจัดการลูกค้า (Logistic Service Providers) โดยการพัฒนาระบบ e-Logistic เพื่อนำไปสู่ การให้บริการแบบ Electronic Certification ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริม การพัฒนา Trade Logistics Provider ในประเทศให้เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจการขนส่งทั้งทางบกและทางเรือ ธุรกิจ Freight Forwarder การให้บริการคลังสินค้า
และประกันภัย
ในด้านเกษตรกรรมข้าวถือเป็นผลผลิตที่สำคัญที่สุด เป็นผู้ผลิตและส่งออกข้าว เป็นอันดับหนึ่งของโลก ด้วยสัดส่วนการส่งออก ร้อยละ 36 พืชผลทางการเกษตรอื่น ๆ ได้แก่ ยางพารา ผักและผลไม้ต่าง ๆ มีการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์เช่น วัว สุกร เป็ด ไก่ สัตว์น้ำทั้งปลาน้ำจืด ปลาน้ำเค็มในกระชัง นากุ้ง เลี้ยงหอย รวมถึงการประมงทางทะเล
ในภาคอุตสาหกรรม การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 5.8 และหมวดสินค้าที่ขยายตัวได้ดีได้แก่ หมวดอิเล็กทรอนิกส์ หมวดเครื่องหนัง หมวดอาหาร และหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า
ในด้านการท่องเที่ยว การบริการและโรงแรม ในปี พ.ศ. 2547 มีนักท่องเที่ยวรวม 11.65 ล้านคน 56.52% มาจากเอเชียตะวันออกและอาเซียน (โดยเฉพาะมาเลเซียคิดเป็น 11.97% ญี่ปุ่น 10.33%) ยุโรป 24.29% ทวีปอเมริกาเหนือและใต้รวมกัน 7.02% สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่
กรุงเทพมหานคร พัทยา ภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน จังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจของประเทศบรูไน
สภาพเศรษฐกิจ : บรูไนเป็นประเทศที่มีน้ำมันมากเป็นอันดับสามในภูมิภาคอาเซียน รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย จึงมีรายได้หลักจากน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ รายได้จากการส่งออกน้ำมันดิบและก๊าซมีมูลค่ากว่าร้อยละ 90 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด โดยส่งออกไปยังญี่ปุ่น อังกฤษ ไทย สิงคโปร์ ไต้หวัน สหรัฐฯ ฟิลิปปินส์ และเกาหลีใต้ ในขณะเดียวกัน บรูไนนำเข้าสินค้าส่วนใหญ่จากสิงคโปร์ อังกฤษ สหรัฐฯ มาเลเซีย โดยเป็นสินค้าประเภทเครื่องจักรอุตสาหกรรม
รถยนต์ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า ต่าง ๆ และสินค้าเกษตร อาทิ ข้าวและผลไม้
บรูไน มีอุตสาหกรรมอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมน้ำมันอยู่บ้าง อาทิ การผลิตอาหารและเครื่องมือ การผลิตเสื้อผ้า เพื่อส่งออกไปยังกลุ่มประเทศในยุโรปและอเมริกา ทั้งนี้ รัฐบาลบรูไน มุ่งที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องดื่ม เสื้อผ้า และสิ่งทอ เครื่องเรือนจากไม้ วัสดุก่อสร้างที่ไม่ใช่โลหะ การผลิตแก้วเพื่อใช้ทำกระจกรถยนต์ อย่างไรก็ดี การพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากมีอุปสรรคต่าง ๆ อาทิ การขาดช่างฝีมือ ตลาดเล็ก ความไม่กระตือรือร้นของข้าราชการ การห้ามชาวต่างชาติเป็นเจ้าของที่ดิน รวมทั้งกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ไม่เอื้ออำนวย ทำให้ต่างชาติไม่นิยมมาลงทุน
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รัฐบาลบรูไน จะเน้นการเป็นประเทศที่มีความสงบและปลอดภัยเป็นจุดขาย โดยรัฐบาลได้ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมมีบทบาทมากขึ้น รวมถึงการส่งเสริมการลงทุนกับต่างประเทศและมีมาตรการเปิดเสรีด้านการค้าและ สร้างบรรยากาศที่เอื้ออำนวยต่อการลงทุน
เศรษฐกิจของประเทศกัมพูชา
สภาพเศรษฐกิจ : กัมพูชายังถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาที่มีความยากจนมากประเทศหนึ่ง ดังนั้น รัฐบาลกัมพูชาจึงให้ความสำคัญอย่างสูงสุดต่อการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศเพื่อมุ่งขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทให้ดีขึ้น รัฐบาลปัจจุบันซึ่งนำโดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายและประกาศใช้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม (จัตุโกณ) เพื่อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาคและประสิทธิภาพในกัมพูชา
หลักการภายใต้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม เป็นวาระแห่งชาติของกัมพูชาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร่งรัดการแก้ไขปัญหาด้าน เศรษฐกิจและสังคมที่กัมพูชากำลังเผชิญอยู่และการพัฒนาศักยภาพของกัมพูชา ได้แก่
1. การส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. ส่งเสริมการสร้างงาน
3. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการของรัฐบาลเพื่อประกันความเท่าเทียมกันและความ เป็นธรรมในสังคม
4. การเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถของรัฐบาลในการดำเนินโครงการปฏิรูปในทุก สาขา
เพื่อลดความยากจนและบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงสร้างของยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม ประกอบด้วย
- ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยมุ่งเน้นการปฏิรูป 4 ประการ ได้แก่
1. การต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวง
2. การปฏิรูปกฎหมายและการศาล
3. การบริหารสาธารณะ
4. การปฏิรูปกองทัพ โดยเฉพาะการลดจำนวนกำลังพลและหันไปเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรและอาวุธ ยุทโธปกรณ์
- สร้างเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่
1. ความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพทางการเมือง และระเบียบทางสังคม
2. การสร้างหุ้นส่วนด้านการพัฒนาซึ่งรวมถึง ภาคเอกชน ประเทศผู้บริจาค และประชาชน
3. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการคลัง
4. การบูรณาการกัมพูชาเข้าสู่ภูมิภาคและโลก
- ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยมยังได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศใน 4 สาขาหลัก ได้แก่
1. ด้านการเกษตร
2. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
3. การพัฒนาภาคเอกชนและสนับสนุนการสร้างงาน
4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสาธารณสุข
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The economy of the countries in the ASEAN group.Economies of the 10 countries. Country-Thailand economy. สภาพเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจหลักของประเทศได้แก่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การบริการ และ ทรัพยากรธรรมชาติ ถือเป็นเศรษฐกิจหลักที่ทำรายได้ให้กับคนในประเทศ พบว่าค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ของประเทศเท่ากับ 245,659 พันล้านบาท และข้อมูลจาก การรายงานประจำปี 2549 กรมส่งเสริมการส่งออกชี้แจงว่า การค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยในปี 2549 มีมูลค่า 236,574.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีการส่งออกมูลค่า 129,744.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่วนการนำเข้าสินค้ามีมูลค่า 126,850.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และมีดุลการค้าเกินดุล 2,913.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้าการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นในทุกหมวด ทั้งสินค้าภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม นอกจากนี้กรมส่งเสริมการส่งออกยังมีทิศทางในการพัฒนาในระบบการบริหารจัดการลูกค้า (Logistic Service Providers) โดยการพัฒนาระบบ e-Logistic เพื่อนำไปสู่ การให้บริการแบบ Electronic Certification ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริม การพัฒนา Trade Logistics Provider ในประเทศให้เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจการขนส่งทั้งทางบกและทางเรือ ธุรกิจ Freight Forwarder การให้บริการคลังสินค้าและประกันภัย ในด้านเกษตรกรรมข้าวถือเป็นผลผลิตที่สำคัญที่สุด เป็นผู้ผลิตและส่งออกข้าว เป็นอันดับหนึ่งของโลก ด้วยสัดส่วนการส่งออก ร้อยละ 36 พืชผลทางการเกษตรอื่น ๆ ได้แก่ ยางพารา ผักและผลไม้ต่าง ๆ มีการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์เช่น วัว สุกร เป็ด ไก่ สัตว์น้ำทั้งปลาน้ำจืด ปลาน้ำเค็มในกระชัง นากุ้ง เลี้ยงหอย รวมถึงการประมงทางทะเล ในภาคอุตสาหกรรม การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 5.8 และหมวดสินค้าที่ขยายตัวได้ดีได้แก่ หมวดอิเล็กทรอนิกส์ หมวดเครื่องหนัง หมวดอาหาร และหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า ในด้านการท่องเที่ยว การบริการและโรงแรม ในปี พ.ศ. 2547 มีนักท่องเที่ยวรวม 11.65 ล้านคน 56.52% มาจากเอเชียตะวันออกและอาเซียน (โดยเฉพาะมาเลเซียคิดเป็น 11.97% ญี่ปุ่น 10.33%) ยุโรป 24.29% ทวีปอเมริกาเหนือและใต้รวมกัน 7.02% สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร พัทยา ภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน จังหวัดเชียงใหม่ เศรษฐกิจของประเทศบรูไน สภาพเศรษฐกิจ : บรูไนเป็นประเทศที่มีน้ำมันมากเป็นอันดับสามในภูมิภาคอาเซียน รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย จึงมีรายได้หลักจากน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ รายได้จากการส่งออกน้ำมันดิบและก๊าซมีมูลค่ากว่าร้อยละ 90 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด โดยส่งออกไปยังญี่ปุ่น อังกฤษ ไทย สิงคโปร์ ไต้หวัน สหรัฐฯ ฟิลิปปินส์ และเกาหลีใต้ ในขณะเดียวกัน บรูไนนำเข้าสินค้าส่วนใหญ่จากสิงคโปร์ อังกฤษ สหรัฐฯ มาเลเซีย โดยเป็นสินค้าประเภทเครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต์ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า ต่าง ๆ และสินค้าเกษตร อาทิ ข้าวและผลไม้ บรูไน มีอุตสาหกรรมอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรมน้ำมันอยู่บ้าง อาทิ การผลิตอาหารและเครื่องมือ การผลิตเสื้อผ้า เพื่อส่งออกไปยังกลุ่มประเทศในยุโรปและอเมริกา ทั้งนี้ รัฐบาลบรูไน มุ่งที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องดื่ม เสื้อผ้า และสิ่งทอ เครื่องเรือนจากไม้ วัสดุก่อสร้างที่ไม่ใช่โลหะ การผลิตแก้วเพื่อใช้ทำกระจกรถยนต์ อย่างไรก็ดี การพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า เนื่องจากมีอุปสรรคต่าง ๆ อาทิ การขาดช่างฝีมือ ตลาดเล็ก ความไม่กระตือรือร้นของข้าราชการ การห้ามชาวต่างชาติเป็นเจ้าของที่ดิน รวมทั้งกฎระเบียบต่าง ๆ ที่ไม่เอื้ออำนวย ทำให้ต่างชาติไม่นิยมมาลงทุน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รัฐบาลบรูไน จะเน้นการเป็นประเทศที่มีความสงบและปลอดภัยเป็นจุดขาย โดยรัฐบาลได้ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมมีบทบาทมากขึ้น รวมถึงการส่งเสริมการลงทุนกับต่างประเทศและมีมาตรการเปิดเสรีด้านการค้าและ สร้างบรรยากาศที่เอื้ออำนวยต่อการลงทุน เศรษฐกิจของประเทศกัมพูชา สภาพเศรษฐกิจ : กัมพูชายังถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาที่มีความยากจนมากประเทศหนึ่ง ดังนั้น รัฐบาลกัมพูชาจึงให้ความสำคัญอย่างสูงสุดต่อการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ของประเทศเพื่อมุ่งขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทให้ดีขึ้น รัฐบาลปัจจุบันซึ่งนำโดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายและประกาศใช้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม (จัตุโกณ) เพื่อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาคและประสิทธิภาพในกัมพูชา หลักการภายใต้ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม เป็นวาระแห่งชาติของกัมพูชาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเร่งรัดการแก้ไขปัญหาด้าน เศรษฐกิจและสังคมที่กัมพูชากำลังเผชิญอยู่และการพัฒนาศักยภาพของกัมพูชา ได้แก่
1. การส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. ส่งเสริมการสร้างงาน
3. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการของรัฐบาลเพื่อประกันความเท่าเทียมกันและความ เป็นธรรมในสังคม
4. การเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถของรัฐบาลในการดำเนินโครงการปฏิรูปในทุก สาขา
เพื่อลดความยากจนและบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงสร้างของยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยม ประกอบด้วย
- ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยมุ่งเน้นการปฏิรูป 4 ประการ ได้แก่
1. การต่อต้านการฉ้อราษฎร์บังหลวง
2. การปฏิรูปกฎหมายและการศาล
3. การบริหารสาธารณะ
4. การปฏิรูปกองทัพ โดยเฉพาะการลดจำนวนกำลังพลและหันไปเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรและอาวุธ ยุทโธปกรณ์
- สร้างเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่
1. ความสงบเรียบร้อย เสถียรภาพทางการเมือง และระเบียบทางสังคม
2. การสร้างหุ้นส่วนด้านการพัฒนาซึ่งรวมถึง ภาคเอกชน ประเทศผู้บริจาค และประชาชน
3. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการคลัง
4. การบูรณาการกัมพูชาเข้าสู่ภูมิภาคและโลก
- ยุทธศาสตร์สี่เหลี่ยมยังได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศใน 4 สาขาหลัก ได้แก่
1. ด้านการเกษตร
2. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
3. การพัฒนาภาคเอกชนและสนับสนุนการสร้างงาน
4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะด้านการศึกษาและสาธารณสุข
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The economy of various countries. In the ASEAN economic 10



the economy: economy country ThailandThe main economy of the country such as agriculture, industry, tourism, services, and natural resources. Is the main economy income for people in the country. It is found that the gross domestic product (Gross Domestic Product:GDP) of the country, as 245 659 billion, and data from the annual report 2549 dep clarify. International trade of Thailand in 2549 value, 236 574.6 million, the output value, 129 744.1 million, the imported goods are valued, 126 850.5 million and trade surplus, 2 913.6 million. The product exports increased in all categories. The agriculture and industry. In addition there are developing in the direction of export promotion system customer management (Logistic Service Providers).E-Logistic to lead services Electronic Certification both domestic and abroad, and promote development. Trade Logistics Provider in the country even more. Only by both land and sea transport business, business Freight Forwarder.And insurance
.In agricultural production of rice is the most important is the leading manufacturer and exporter of rice, one of the largest of the world with the rate of export of 36 agricultural crops. These include timber, fruits and vegetables.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: