Transportation is a key factor in driving activities so that as the ASEAN Economic Community. In the year 2558 (2015) logistics business is a branch that has been accelerated, with liberalisation before year 2556 (2013) pivot is a compound to the ASEAN's logistics investment can do business logistics in other ASEAN member countries. And they can be shareholders in the business of not less than 70 per cent, and to accommodate the flow into the ASEAN economic community is one of the aviation industry, Thai. Trying to accelerate the development of the potential availability of quality universal tantamount. Targeting a flight hub in the ASEAN region. Currently, the transport infrastructure of the strong Thai Air ranks 28 of the world. The Transport Ministry set a target. Thai is stepping up to "aerospace hub" of the ASEAN region within 5 years. For the ASEAN aviation liberalization by plurinational agreement framework is taken to include ASEAN member countries can air freight between each other by unlimited. The current capacity, the frequency is tuned by the Thai have signed and ratified it, together with other Member countries, including Malaysia, the Philippines, Singapore, Viet Nam 5 and Myanmar remains the Member countries not yet signatory countries 4. But it is expected to be signed later in the year, if 2558 (2015) fully consider the practice under the framework agreement to such flights has been liberalization might still be clear laws and rules, domestic regulations of each member country. But nevertheless, the AEC integration flows still resulted in a vigorous aerospace industry in ASEAN. ในช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมาอุตสาหกรรมการบินของไทยยังคงแสดงให้เห็นแนวโน้มที่ดีในทุกองค์ประกอบไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจสายการบิน ท่าอากาศยาน การซ่อม-บำรุงอากาศยาน รวมไปถึงการฝึกอบรมบุคลากรด้านการบิน และนับเป็นการพัฒนาเพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางด้านการขนส่งทางอากาศอย่างเป็นรูปแบบ ซึ่งแนวโน้มธุรกิจการบินของไทย ยังพบว่า ภาพรวมธุรกิจการบินปีนี้มีการเติบโตไปในทิศทางที่ดี โดยประเมินได้จากแนวโน้มการขยายตัวของธรุ กิจสายการบินของไทย ซึ่งบริษัทสายการบินต่างมีแผนการขยายธุรกิจในปี 2556 อย่างชัดเจน ทั้งสายการบินไทยและการบินไทยสมายล์ สายการบินไทยแอร์เอเชีย สายการบินบางกอกแอร์เวย์สและสายการบินนกแอร์ โดยเฉพาะการเพิ่มจำนวนเครื่องบินประจำการในฝูงบิน การเพิ่มจำนวนเที่ยวบิน และการขยายเส้นทางบินในตลาดอาเซียน และจากจุดแข็งทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยที่ตั้งอยู่กึ่งกลางภูมิภาคอาเซียน ภาครัฐจึงได้มีการวางนโยบายให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการบินภูมิภาค โดยเมื่อเปรียบเทียบกับสิงคโปร์ที่นับว่าเป็นประเทศที่มีการวางเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางทางการบินเช่นกันแล้ว พบว่าประเทศไทยและสิงคโปร์มีเส้นทางการบินเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ ทั่วโลกใกล้เคียงกัน แต่หากพิจารณาเฉพาะการเชื่อมโยงในภูมิภาคจะพบว่า ไทยและสิงคโปร์มีเที่ยวบินเชื่อมต่อประเทศสมาชิกอาเซียนครบทั้ง 10 ประเทศ พิจารณาเฉพาะประเทศกัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) ซึ่งเป็นประเทศที่ศักยภาพในการดึงดูดการค้า การลงทุนรวมถึงการท่องเที่ยว จะพบว่าประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับกลุ่มประเทศดังกล่าวมากกว่า จึงนับว่าไทยมีจุดแข็งในด้านเส้นทางการบินในภูมิภาคอาเซียนมากกว่าสิงคโปร์
นอกจากการท่องเที่ยวที่เป็นปัจจัยหนุนหลักแล้ว ความได้เปรียบด้านภูมิศาสตร์ก็จัดเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ดี รวมถึงปัจจัยผลักดันมาจากการที่ประเทศไทยกำลังจะก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และการขยายตัวของธุรกิจสายการบินต้นทุนตํ่า(Low Cost Airline) ซึ่งอุณหภูมิการแข่งขันร้อนแรง ผู้ประกอบการธุรกิจสายการบินต้นทุนตํ่าต่างต้องปรับกลยุทธ์การตลาดเพื่อรองรับการแข่งขันที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ผู้ประกอบการธุรกิจสายการบินต้นทุนตํ่ายังได้มีการขยายเส้นทางบินใหม่ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศให้ครอบคลุมมากขึ้น
ฮับการบินในอาเซียน…เปิดฟ้าประเทศไทยกว้างไกลด้วยโอกาสในภูมิภาค
การแปล กรุณารอสักครู่..