คำว่า

คำว่า"โครงสร้างหลวม" เป็นผลงานวิจัย

คำว่า"โครงสร้างหลวม" เป็นผลงานวิจัยของนักวิชาการที่ชื่อว่า John F.Embree ซึ่งได้มาศึกษารูปแบบทางสังคมของไทย โดยดูจากพฤติกรรมต่างๆ ความคิดเห็น ค่านิยม ฯลฯ โดยสรุปรูปแบบทางสังคมของไทยที่เรียกว่าโครงสร้างหลวม มีลักษณะดังนี้
เป็นสังคมที่มีปัจเจกชนนิยมสูง (Individualism) รักอิสระ ทำอะไรตามใจตัวเอง ซึ่งน่าจะเกิดจากกระบวนการหล่อหลอมกล่อมเกลาทางสังคม (socialization) ที่ไม่มีการบังคับ และศาสนาที่เชื่อว่าตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ไม่ก้าวก่ายกัน ต่างกับญี่ปุ่นที่เป็นโครงสร้างกระชับ ปัจเจกชนไม่มีอิทธิพลมากเท่ากับชุมชน เช่น การซื้อที่ดินในชนบทสำหรับญี่ปุ่นไม่ใช่ผู้ขายจะตัดสินใจได้เลยต้องให้กรรมการหมู่บ้านช่วยกันตัดสินใจว่าจะรับคนใหม่เข้ามาอยู่ในชุมชนหรือไม่
ไม่ชอบถูกผูกมัดในระยะยาว (Long-term obligation) แต่จะถนัดแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เรื่องเฉพาะกิจ ไม่ชอบวางแผนระยะยาว ถ้าปัญหายังไม่เกิดจะไม่หาทางป้องกัน แต่รอปัญหาเกิดแล้วค่อยหาทางแก้
มีความยืดหยุ่นสูง (Flexibility) คนไทยปรับตัวง่าย ไม่ยึดอะไรตายตัว ตรงข้ามกับฝรั่งที่มีความเข้มงวดกวดขันสูง (Rigidity)
เข้าใจกฎระเบียบและกติกาทางสังคม แต่มีการละเมิดบ่อย และผู้ที่ละเมิดกฎกติกาทางสังคมไม่ค่อยถูกสังคมลงโทษ (Low social sanction)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
คำว่า"โครงสร้างหลวม" เป็นผลงานวิจัยของนักวิชาการที่ชื่อว่า John F.Embree ซึ่งได้มาศึกษารูปแบบทางสังคมของไทย โดยดูจากพฤติกรรมต่างๆ ความคิดเห็น ค่านิยม ฯลฯ โดยสรุปรูปแบบทางสังคมของไทยที่เรียกว่าโครงสร้างหลวม มีลักษณะดังนี้เป็นสังคมที่มีปัจเจกชนนิยมสูง (Individualism) รักอิสระ ทำอะไรตามใจตัวเอง ซึ่งน่าจะเกิดจากกระบวนการหล่อหลอมกล่อมเกลาทางสังคม (socialization) ที่ไม่มีการบังคับ และศาสนาที่เชื่อว่าตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ไม่ก้าวก่ายกัน ต่างกับญี่ปุ่นที่เป็นโครงสร้างกระชับ ปัจเจกชนไม่มีอิทธิพลมากเท่ากับชุมชน เช่น การซื้อที่ดินในชนบทสำหรับญี่ปุ่นไม่ใช่ผู้ขายจะตัดสินใจได้เลยต้องให้กรรมการหมู่บ้านช่วยกันตัดสินใจว่าจะรับคนใหม่เข้ามาอยู่ในชุมชนหรือไม่ ไม่ชอบถูกผูกมัดในระยะยาว (Long-term obligation) แต่จะถนัดแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เรื่องเฉพาะกิจ ไม่ชอบวางแผนระยะยาว ถ้าปัญหายังไม่เกิดจะไม่หาทางป้องกัน แต่รอปัญหาเกิดแล้วค่อยหาทางแก้ มีความยืดหยุ่นสูง (Flexibility) คนไทยปรับตัวง่าย ไม่ยึดอะไรตายตัว ตรงข้ามกับฝรั่งที่มีความเข้มงวดกวดขันสูง (Rigidity)เข้าใจกฎระเบียบและกติกาทางสังคม แต่มีการละเมิดบ่อย และผู้ที่ละเมิดกฎกติกาทางสังคมไม่ค่อยถูกสังคมลงโทษ (Low social sanction)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The term "loose structure" as a result of research scholar named John F.Embree which to study social patterns of Thailand. Comments by various behaviors, values, etc. In summary, the social model of Thailand called loose structure. Looks like
a society that is highly individual. (Individualism) free love do unto itself. This is likely due to socialization process preach. (Socialization) is not required. And who believe that their religion is the refuge of their own. No discursive Unlike Japan, which is a compact structure. Individuals do not have much influence on the community, such as the purchase of rural land for Japan, not the seller decides not to give the village committee to help decide whether to accept new people into the community or
not bonded in the long term (Long. -term obligation), but omitting to solve immediate problems. The statements Do not like long-term planning If that does not happen will not seek to prevent. But wait, the problem then a solution
is highly flexible. (Flexibility) Thailand's simple adjustment. Do not hold anything fixed France opposed a rigorous high. (Rigidity)
understand social rules and regulations. However, there are frequent violations And those who violate the rules of social society rarely been punished (Low social sanction).
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!



ให้วิ่งมาที่นี่เหรอ


ให้วิ่งมาที่นี่เหรอ


ให้วิ่งมาที่นี่เหรอ


ให้วิ่งมาที่นี่เหรอ


ให้วิ่งมาที่นี่เหรอ


ให้วิ่งมาที่นี่เหรอ


ให้วิ่งมาที่นี่เหรอ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: