สำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียงใหญ่ คือ:ภาษาลาวเวียงจ การแปล - สำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียงใหญ่ คือ:ภาษาลาวเวียงจ ลาว วิธีการพูด

สำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวสามารถแบ่ง

สำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียงใหญ่ คือ:
ภาษาลาวเวียงจันทน์ (เวียงจันทน์ บริคำไชย)
ภาษาลาวเหนือ (หลวงพระบาง ไชยบุรี อุดมไชย หลวงน้ำทา)
ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ (เชียงขวาง หัวพัน)
ภาษาลาวกลาง (คำม่วน สุวรรณเขต)
ภาษาลาวใต้ (จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตปือ)
ภาษาลาวตะวันตก (ไม่มีใช้ในประเทศลาว ร้อยเอ็ด)
ทางการประเทศลาวไม่ได้กำหนดให้สำเนียงถิ่นใดเป็นสำเนียงภาษากลาง แต่การใช้ภาษาลาวอย่างเป็นทางการ เช่น ทางสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศลาว สถานีวิทยุแห่งประเทศลาว จะใช้สำเนียงเวียงจันทน์ซึ่งเป็นสำเนียงของคนเมืองหลวง สามารถเข้าใจกันได้ทั่วประเทศ การเรียนภาษาลาวในประเทศลาวนั้น รัฐบาลลาวไม่ได้บังคับให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ แต่ให้สามารถใช้สำเนียงท้องถิ่นต่าง ๆ ได้ แต่การเรียนภาษาลาวสำหรับชาวต่างประเทศ รัฐบาลลาวแนะนำให้ใช้สำเนียงเวียงจันทน์ ฉะนั้นประชาชนในประเทศลาวจึงพูดอ่านภาษาลาวเป็นสำเนียงท้องถิ่นของตน แต่ประชาชนก็สามารถฟังเข้าใจได้ทุกสำเนียงทั่วประเทศ แม้จะพูดภาษาต่างสำเนียงกันก็ตาม
ภาษาลาวอีกสำเนียงหนึ่งที่ไม่มีในประเทศลาว คือ ภาษาลาวตะวันตก (ภาษาลาวร้อยเอ็ด) เป็นภาษาลาวท้องถิ่นที่ใช้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ภาษาอีสาน สำเนียงนี้ใช้พูดกันมากในแถบตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เช่น จังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ อุดรธานี นครราชสีมา (อำเภอบัวใหญ่ สีดา สูงเนิน ชุมพวง บัวลาย แก้งสนามนาง ประทาย โนนแดง ปักธงชัย สีคิ้ว บางหมู่บ้าน) สุรินทร์ (อำเภอรัตนบุรี สนม โนนนารายณ์) บุรีรัมย์ (อำเภอพุทไธสง นาโพธิ์ บ้านใหม่ไชยพจน์ ลำปลายมาศ หนองหงส์ และบางหมู่บ้านของอำเภอสตึก โนนดินแดง โนนสุวรรณ หนองกี่ คูเมือง ประคำ และอำเภอเมืองบุรีรัมย์ )
ส่วนจังหวัดอื่น ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบางจังหวัดในภาคเหนือของไทยจะใช้สำเนียงดังนี้
ภาษาลาวเหนือ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดเลย อุตรดิตถ์ (อำเภอบ้านโคก น้ำปาด ฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อำเภอหล่มสัก หล่มเก่า น้ำหนาว) ขอนแก่น (อำเภอภูผาม่าน และบางหมู่บ้านของ อำเภอสีชมพู ชุมแพ) ชัยภูมิ (อำเภอคอนสาร) พิษณุโลก (อำเภอชาติตระการ และนครไทยบางหมู่บ้าน) หนองคาย (อำเภอสังคม) อุดรธานี (อำเภอน้ำโสม นายูง บางหมู่บ้าน)
ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่ค่อยมีผู้พูดในประเทศไทย จังหวัดที่พูดในประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นชุมชนลาวพวนที่อพยพมาจากแขวงเซียงขวาง สปป.ลาว เช่น ที่บ้านเชียง อำเภอหนองหาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี และบางหมู่บ้าน ใน จังหวัดสกลนคร หนองคาย และยังมีชุมชนลาวพวนในภาคเหนือบางแห่งในจังหวัด สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ ไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้น
ภาษาลาวเวียงจันทน์ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย (อำเภอเมืองหนองคาย ศรีเชียงใหม่ ท่าบ่อ โพนพิสัย) ขอนแก่น (อำเภอภูเวียง ชุมแพ สีชมพู ภูผาม่าน หนองนาคำ เวียงเก่า หนองเรือบางหมู่บ้าน) ยโสธร (อำเภอเมืองยโสธร ทรายมูล กุดชุม บางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อำเภอบ้านผือ เพ็ญ บางหมู่บ้าน) ศรีสะเกษ (ในบางหมู่บ้านของ อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอขุขันธ์ และ อำเภอขุนหาญ)
ภาษาลาวกลาง แยกออกเป็นสำเนียงถิ่น 2 สำเนียงใหญ่ คือ ภาษาลาวกลางถิ่นคำม่วน และถิ่นสะหวันนะเขด ถิ่นคำม่วน จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดนครพนม สกลนคร บึงกาฬ (อำเภอเซกา บึงโขงหลง บางหมู่บ้าน) ถิ่นสะหวันนะเขด จังหวัดที่พูดมีจังหวัดเดียว คือ จังหวัดมุกดาหาร
ภาษาลาวใต้ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย จังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร
แต่ในปัจจุบัน ภาษาลาวตะวันตกหรือภาษาอีสานในประเทศไทยไม่ได้รับการพัฒนาให้ใช้เป็นภาษาทางการ รัฐบาลไทยได้กำหนดให้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาทางการแทน จึงทำให้ภาษาลาวตะวันตกได้รับอิทธิพลจากภาษาไทยค่อนข้างมาก และมีการใช้คำศัพท์ภาษาไทยปะปนค่อนข้างมาก รวมทั้งไม่มีการใช้ตัวอักษรภาษาลาวในการเขียนด้วย จึงทำให้ภาษาลาวตะวันตกในปัจจุบันแตกต่างกับภาษาลาวในประเทศลาว ฉะนั้นจึงทำให้ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยที่ไม่ได้เรียนภาษาลาวแบบประเทศลาว บางครั้งฟังภาษาลาวในแบบทางการลาวไม่เข้าใจโดยตลอด โดยจะเข้าใจแบบจับใจความรู้เรื่อง เท่านั้นแต่ไม่เข้าใจคำศัพท์ความหมายหรือประโยค ทุกคำทุกความหมายได้ เพราะคำศัพท์บางคำซึ่งทางการลาวบัญญัติขึ้นใหม่ ทำให้ภาษาขาดการติดต่อกัน แต่อย่างไรก็ยังถือว่าเป็นภาษาอันเดียวกัน อย่างกรณีภาษาอังกฤษในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา
ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีกหลายสำเนียงย่อย เช่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสุวรรณเขต สำเนียงย่อยถิ่นเมืองอาดสะพังทอง ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาลาวใต้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ลาว) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ສໍານຽງແລະພາສາຂອງພາສາລາວສາມາດແບ່ງອອກເປັນຫົກພາສາຄື:
ລາວວຽງຈັນ (ວຽງຈັນຄໍາໄຊ)
ໃນສປປລາວ (ແຂວງຫລວງພະບາງໄຊຍະບູລີອຸດົມໄຊຍຫລວງນ້ໍາທາ)
ລາວ Northeast (ຊຽງຂວາງຫົວພັນ)
ພາສາ. ພາກກາງຂອງລາວ (ແຂວງຄໍາມ່ວນ Suwannakhet)
ໃນສປປລາວ (ຈໍາປາສັກສາລະວັນອັດຕະປື Jose Division)
ພາກຕາເວັນຕົກລາວ. (ບໍ່ມີຢູ່ໃນສປປລາວ ແລະ)
ລາວໄດ້ກໍານົດຢ່າງເປັນທາງການເປັນການອອກສຽງສູງກັບສໍານຽງພາສາໃດ. ແຕ່ພາສາລາວເປັນສະຖານີໂທລະພາບຢ່າງເປັນທາງການຂອງສປປລາວ. ສະຖານີລາວ ວຽງຈັນ, ທີ່ຖືກນໍາໃຊ້ເພື່ອສໍານຽງການອອກສຽງສູງຂອງນະຄອນຫຼວງ. ສາມາດເຂົ້າໃຈທັງຫມົດໃນທົ່ວປະເທດ ສປປລາວໃນປະເທດລາວ. ລັດຖະບານລາວບໍ່ໄດ້ບັງຄັບໃຫ້ໃຊ້ສໍານຽງວຽງຈັນ. ແຕ່ວ່າຈະສາມາດນໍາໃຊ້ພາສາທີ່ແຕກຕ່າງກັນ, ແຕ່ວ່າພາສາລາວສໍາລັບຄົນຕ່າງປະເທດ. ວຽງຈັນ, ສປປລາວ, ລັດຖະບານແນະນໍາການອອກສຽງສູງ. ເພາະສະນັ້ນ, ປະຊາຊົນໃນສປປລາວ, ໄດ້ກ່າວວ່າລາວອ່ານອອກສຽງສູງໃນທ້ອງຖິ່ນຂອງເຂົາເຈົ້າ. ແຕ່ປະຊາຊົນສາມາດເຂົ້າໃຈທັງຫມົດໃນທົ່ວສໍານຽງປະເທດ. ເຖິງແມ່ນດັ່ງທີ່ພວກເຮົາເວົ້າພາສາທີ່ແຕກຕ່າງກັນ, ການອອກສຽງສູງ,
ການອອກສຽງສູງ, ຫນຶ່ງວ່າບໍ່ມີລາວໃນສປປລາວ, ສປປລາວພາກຕາເວັນຕົກ. (ROI ລາວ) ໃນເມືອງລາວໃນວັນອອກສຽງເຫນືອຂອງປະເທດໄທ. ເປັນທີ່ຮູ້ຈັກຍັງເປັນພາສາສໍານຽງອີສານເປັນພາສາເວົ້າຂອງຢູ່ເຄິ່ງກາງຂອງພາກເຫນືອ, ພາກຕາເວັນອອກຂອງປະເທດໄທ, ຮ້ອຍເອັດ, ຂອນແກ່ນ, ມະຫາສາລະຄາມ, ກາລະສິນ, ອຸດອນທານີ, ນະຄອນລາຊະສີມາ (ອໍາເພີບົວໃຫຍ່ Sida Hill ຊຸມພວງຮູບແບບ lotus ປາກຊ່ອງປະທາຍໂນນແດງປາກ eyebrow ໄດ້. ບາງບ້ານ) ສຸລິນ (concubines ລັດເມືອງ Narai) Ram (ພຸດໄທສົງ Na Pho Ban Nong Hong ລໍາປາຍມາດໄຊຍພົດແລະບາງຫມູ່ບ້ານຂອງເຂດພື້ນທີ່ຕຶກທີ່ບໍ່ແມ່ນສາດສະຫນາ Ki ໂນນສຸວັນ Khu ເມືອງບຸລີລໍາແລະ beads. ),
ບັນດາແຂວງອື່ນໆໃນພາກເຫນອແລະເຂດປົກຄອງຈໍານວນຫນຶ່ງໃນພາກເຫນືອຂອງປະເທດໄທໃນການການອອກສຽງສູງ
ລາວຂ້າງເທິງ. ເວົ້າແຂວງໃນປະເທດໄທ, Uttaradit ຈັງຫວັດ (Ban Nam Pat ເມືອງ Fak) ເພັດບຸລີ (ເມືອງ Lom Sak, ນ້ໍາຫນາວ) ຂອນແກ່ນ (Phu Pha Man. ແລະບາງຫມູ່ບ້ານຂອງເຂດການສຶກສາ, Chum, ສີບົວ), ແອເບີດີນ (Khon) ພິສະນຸໂລກ (ເມືອງ Charttrakarn. ນະຄອນໄທແລະບາງບ້ານ) ຫນອງຄາຍ (ເມືອງສັງຄົມ), ອຸດອນ (ເມືອງ Yung Nam Som ບາງບ້ານ)
ຢູ່ໃນພາກເຫນືອລາວ. ຂ້າພະເຈົ້າໄດ້ກ່າວຢູ່ໃນປະເທດໄທ ແຂວງເປັນພາສາເວົ້າສ່ວນຫຼາຍແມ່ນຢູ່ໃນຊຸມຊົນທີ່ໄດ້ຮັບການຍົກຍ້າຍມາຈາກລາວຊຽງຂວາງສ. ປ. ປ. ລາວ. ສປປລາວເປັນບ້ານຊຽງ Ban Phu, ອຸດອນທານີ, ເມືອງຫນອງຫານ. ແລະບາງຫມູ່ບ້ານໃນແຂວງຫນອງຄາຍແລະຊຸມຊົນລາວຍັງເຊືອກໃນບາງສ່ວນຂອງແຂວງພາກເຫນືອຂອງ Uttaradit, Phrae, ພຽງແຕ່ບໍ່ພໍເທົ່າໃດບ້ານ
ໃນແຂວງວຽງຈັນ, ປະເທດລາວ. ແຂວງໄດ້ກ່າວວ່າໃນປະເທດໄທ, Chaiyaphum, ຫນອງຄາຍ (Ban Khai Si ຊຽງໃຫມ່ Bo Poanpisai), ຈັງຫວັດຂອນແກ່ນ (ພູວຽງແພສີບົວຜາຫນອງ Na ວຽງຫນອງເຮືອບາງບ້ານ) ຍະໂສທອນ (ເມືອງຍະໂສທອນ Sai Mun Kudchum ບາງບ້ານ) ອຸດອນທານີ (Ban Phu. ອຸດອນທານີບາງບ້ານ) ສີ (ໃນບາງບ້ານ. ສີເມືອງເມືອງແລະເມືອງຂຸຂັນ Han)
ສປປລາວ. ແບ່ງອອກເປັນສອງສໍານຽງການອອກສຽງສູງເປັນຢູ່ສປປລາວແຂວງຄໍາມ່ວນ. ສະຫວັນນະເຂດແລະທ້ອງຖິ່ນເຂົ້າຮ່ວມແຂວງຄໍາມ່ວນຂອງສະກົນນະຄອນພະນົມໃນປະເທດໄທ, ລາຊະສີມາ (Seka Bung Khong Long ບ້ານບາງ) ເຂົ້າໄປໃນສະຫວັນນະເຂດພາຍໃນປະເທດໄດ້ກ່າວວ່າ. ແຂວງໄດ້ກ່າວວ່າແຂວງເປັນແຂວງທີ່ມີພຽງແຕ່
ໃນພາກໃຕ້ຂອງລາວ. ເວົ້າແຂວງໃນປະເທດໄທ Amnat Charoen, ຍະໂສທອນ, Ubon Ratchathani, Si Sa Ket
, ແຕ່ໃນປະຈຸບັນ. ພາກຕາເວັນອອກພາສາລາວຫຼືຕາເວັນຕົກໃນສະຫະລັດອາເມລິກາຍັງບໍ່ທັນໄດ້ຮັບການພັດທະນາຈະໄດ້ຮັບການນໍາໃຊ້ເປັນພາສາທາງການ. ປະເທດໄທ, ລັດຖະບານໄດ້ກໍານົດວ່າພາສາເປັນພາສາທາງການຂອງປະເທດໄທ. ລາວ, ພາສາທີ່ໄດ້ອິດທິພົນຈາກຕາເວັນຕົກປະເທດໄທຫຼາຍ. ແລະມີຂ້ອນຂ້າງຫຼາຍຂອງ campsites ປະເທດໄທຄໍາສັບໄດ້. ລວມເຖິງການໃຊ້ຕົວອັກສອນລາຍລັກອັກສອນໃນພາສາລາວທີ່ບໍ່ມີ. ມັນກົງກັນຂ້າມກັບທີ່ທັນສະໄຫມຂອງຕາເວັນຕົກລາວລາວໃນລາວ. ເພາະສະນັ້ນ, ປະຊາຊົນໃນ Northeast ຂອງປະເທດໄທບໍ່ແມ່ນພາສາອັງກິດລາວລາວ. ບາງຄັ້ງການຟັງກັບອໍານາດການປົກລາວລາວບໍ່ໄດ້ສະເຫມີເຂົ້າໃຈ. ມັນແມ່ນກ່ຽວກັບຄວາມເຂົ້າໃຈດ້ານ. ແຕ່ບໍ່ເຂົ້າໃຈຄໍາສັບຫຼືປະໂຫຍກ. ຄໍາສັບຕ່າງໆທັງຫມົດທີ່ມີຄວາມຫມາຍ ເນື່ອງຈາກວ່າຄໍາເວົ້າບາງສ່ວນຂອງລັດຖະບານລາວປະກາດໃຫມ່. ພາສາຍັງຂາດຄວາມສາມະຄີ ຢ່າງໃດກໍຕາມ, ມັນຍັງແມ່ນອັນດຽວກັນ. ກໍລະນີຂອງພາສາອັງກິດຢູ່ໃນສະຫະຊະອານາຈັກແລະສະຫະລັດອະເມລິກາ
ໃນສປປລາວ. ໃນນອກຈາກນັ້ນ, ບໍ່ມີການອອກສຽງສູງທີ່ຍິ່ງໃຫຍ່ເພື່ອສໍານຽງການອອກສຽງສູງຂະຫນາດນ້ອຍຈໍານວນຫຼາຍເຊັ່ນວັນ Sal ຢູ່ພາກໃຕ້ຂອງສ. ຜູ້ຖືກກ່າວຟ້ອງສູນກາງລາວ Suwannakhet ເມືອງຂະຫນາດນ້ອຍຢູ່ ard ການອອກສຽງສູງຄໍາ Sapag. ປາກຢູ່ງື່ມແຂວງວຽງຈັນໃນເມືອງ, ແລະອື່ນໆນອກນັ້ນຍັງມີຢູ່ໃນການເວົ້າປະເທດ: ລາວຈໍາປາສັກໃນ horns ໃກ້ຊິດພຣະວິຫານຂອງແລະ Ratanakiri ຂອງກໍາປູເຈຍ.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: