History of Phuket They have multiple streams of Phuket Island was discovered by a fisherman, originally called "Bukit Malay language which is translated as" mountain, because when viewed from the sea will see a mountain of water, but it popped up the Middle bangkrasae that Phuket come from the word "package" means mountain, Phu have Phu words which Nephi package.It is recorded in a document from that talang 2328 (1785) As a city following this tip came talang has been changed to "Phuket" without knowing the cause is present in the books, the Government Gazette since starting a 2450 (1907) is known as the Phuket Province. During the reign of King Rama v and is Phuket.The evolution of Phuket. There are several ranges together since prehistoric times. Seen from the unearthed evidence. Historical stone tools and axes, stone is at home in kathu, Kamala, an audit by making note that such evidence. Aged not less than 3000 years ago so it could conclude that the island is inhabited since pre historic. In the ancient Duchy of chakras, the placenta, the ancient Greek, it has been mentioned in Phuket on behalf of Ceylon map of pato and (geography, Greeks) that assumes that Phuket as it with the Mainland. Before the ground God oral area (between Phang-Nga and Phuket water Groove) is a water eroded until it shows that Phuket is known at the time, and then travelers. On behalf of Ceylon It is the working of various Nations since the early Empire circa 800, according to whether it is the Kingdom of Srivijaya Kingdom, Siri links porn SI thammarat Kingdom of Ayuthaya, Sukhothai province, until the. Thailand currently in the country through many events ranging from a travel between suvarnabhumi and the continent, India. In the important trading center-current Tin and mining is a famous tourist city, a world class. For historical reference, and there is a clearly documented about Phuket is summarized as follows:The Ayutthaya period.Nationals of Portugal had commercial Mall area, tin ore. In Thalang When a year later in the year 2169 2126 God made the Dutch contract fair, come to buy the Tin monopoly, Thalang, because the Dutch began the influence. More on Java, but nationals of Thalang uprising it oppression of the Dutch. By expulsion from the island in the year 2210, and later in the reign of King Narai the great shape it is unpractical to make concessions to France and build tribes a monopoly of trade Tin at Thalang (uncheck in phetracha)Bangkok-the currentในสมัยรัชกาลที่ 1(พ.ศ.2328) เกิดศึกถลางขึ้น ซึ่งคุณหญิงจัน และคุณหญิงมุกร่วมกับชาวถลาง ต้านศึกพม่าได้สำเร็จ จนได้รับราชทินนามตำแหน่ง เป็นท้าวเทพกระษัตรี และท้าวศรีสุนทรต่อมาในปี พ.ศ.2352 เกิดศึกถลางครั้งที่สองขึ้น ถลางพ่ายแพ้แก่ทัพพม่า อย่างยับเยิน เมืองถลาง กลายเป็นเมืองร้าง 15 ปีต่อมา ( พ.ศ.2367) รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้รื้อฟื้นสร้างเมืองใหม่ ที่บ้านท่าเรือ ประจวบกับช่วงนั้น มีการพบสายแร่ ที่บ้านเก็ตโฮ่ (อ.กะทู้) และที่บ้านทุ่งคา (อ.เมืองภูเก็ต) ความเจริญ และชุมชนเมืองจึงย้ายไปตามแหล่ง ที่พบสายแร่แต่เมืองเหล่านั้น (บ้านกะทู้ , บ้านทุ่งคา) แต่ก็อยู่ในฐานะเมืองบริวารของถลาง ช่วงสมัยรัชกาลที่ 3-4 กิจการเหมืองแร่ มีความเจริญก้าวหน้ามาก เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการส่งส่วย “ดีบุก” มาเป็นการผูกขาดเก็บภาษีอากรแบบ “เหมาเมือง” ตลอดจนมีการทำ สนธิสัญญา กับต่างชาติ ส่งผลให้ธุรกิจการค้าดีบุก ขยายตัวอย่างกว้างขวาง คนจีนพากันหลั่งไหล เข้ามาทำเหมืองจนกลายเป็นชนกลุ่มใหญ่ ในภูเก็ตจนถึงปัจจุบันในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2435) ได้มีการปฏิรูปการปกครอง เป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล มีการแต่งตั้งให้พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต และในช่วงนี้เองที่ภูเก็ต เริ่มมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีพระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็นผู้วางรากฐาน ด้านต่างๆ ทั้งระบบสาธารณูปโภค เช่น การสร้างถนน, การพัฒนา ทางเศรษฐกิจ ฯลฯ และวางรากฐานการพัฒนา ด้านเศรษฐกิจในภูเก็ต คือ ตรา พ.ร.บ.เหมืองแร่, ริเริ่มการปลูกยางพารา ในภาคใต้ของประเทศไทยรวมทั้งภูเก็ต
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 เป็นต้นมากิจการเหมืองแร่เริ่มซบเซาลง กลุ่มนักลงทุนเริ่มมีแนวคิด ในการนำธุรกิจการท่องเที่ยว เข้ามาแทนที่ การทำเหมืองแร่ และในวันที่ 23 มิถุนายน 2529 ได้เกิดเหตุการณ์ เผาโรงงานถลุงแร่แทนทาลัม นับเป็นการปิดฉากธุรกิจเหมืองแร่ ในภูเก็ตอย่างแท้จริง การท่องเที่ยวกลายเป็นทางเลือกใหม่ของคนภูเก็ต
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์
หลวงพ่อแช่มวัดฉลอง - กลุ่มอั้งยี่
จากการที่เมืองภูเก็ตมีชาวจีนมาอยู่อาศัยมาก ทำให้มีสมาคมลับหรือ “อั้งยี่” เกิดขึ้น โดยแบ่งเป็น สองพวกใหญ่ คือ กลุ่มปุนเถ้าก๋ง มีอิทธิพลอยู่ในบ้านกะทู้ ซึ่งเป็นแหล่งทำเหมือง ที่มีชาวจีนอยู่มาก และอีกพวกหนึ่งคือ กลุ่มเกี้ยนเต็ก มีเขตอิทธิพลอยู่ในตัวตลาดเมืองภูเก็ต ซึ่งอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม เป็นศัตรูคู่อริที่มักก่อเหตุวุ่นวายอยู่เนืองๆ โดยก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรง ครั้งใหญ่สามครั้งด้วยกัน คือ
เหตุการณ์จลาจลครั้งแรก เกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2410 พวกอั้งยี่ทั้งสองกลุ่ม ได้ยกพวกฆ่าฟันกัน เพื่อแย่งชิงสายน้ำล้างแร่ จนกลายเป็นจลาจล ข้าหลวงส่วนกลาง ต้องเข้าระงับเหตุและปราบปราม เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้รัฐบาล ต้องเลี้ยงอั้งยี่ คือเลือกคนจีนที่มีพรรคพวกนับถือมากตั้งเป็น “หัวหน้าต้นแซ่” ควบคุมดูแลคนของตน และหากคนของตน คับข้องใจต้องการร้องทุกข์ หัวหน้าต้นแซ่ จะเป็นผู้เสนอคำร้องนั้น ให้แก่ทางการต่อไป
ต่อมาในปี พ.ศ.2419 ได้เกิดเหตุจลาจลขึ้นอีกครั้งการ โดยครั้งนี้เป็นการจลาจลครั้งใหญ่ เกิดจากอั้งยี่ปุนเถ้าก๋ง ไ
การแปล กรุณารอสักครู่..