เนื่องจากผลการเรียนการสอน และชื่อเสียงของโรงเรียนพณิชยการบางนา ในด้านร การแปล - เนื่องจากผลการเรียนการสอน และชื่อเสียงของโรงเรียนพณิชยการบางนา ในด้านร อังกฤษ วิธีการพูด

เนื่องจากผลการเรียนการสอน และชื่อเส

เนื่องจากผลการเรียนการสอน และชื่อเสียงของโรงเรียนพณิชยการบางนา ในด้านระเบียบวินัย ความประพฤติของนักเรียน ประกอบกับความต้องการของประชาชนที่จะศึกษาต่อ ในระดับ สูงขึ้นมีจำนวนมาก กรมอาชีวศึกษาจึงได้ประกาศยกฐานะ โรงเรียนพณิชยการบางนาขึ้นเป็น “วิทยาลัยพณิชยการบางนา” เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2517 เปิดสอนนักเรียนและนักศึกษา 2 ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ.6) สายอาชีพ และระดับประโยควิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) นับเวลาตั้งแต่เริ่มเปิดดำเนินการสอนจนเปลี่ยนระดับยกฐานะเป็นวิทยาลัยในเวลาเพียง 4 ปีเท่านั้น

เมื่อโรงเรียนได้รับการยกฐานะเป็นวิทยาลัย ดร.ไพศาลย์ จามรมาน อาจารย์ใหญ่ ได้รับการแต่งตั้งเป็น “ผู้อำนวยการวิทยาลัย” นับเป็นบุญกุศลมหาศาลของวิทยาลัยพณิชยการบางนา และเป็นหนี้บุญคุณต่อตระกูล “รุ่งแสง” และ “รุ่งเรือง” เป็นอย่างมากที่ได้กรุณาบริจาคที่ดินให้จัดตั้งโรงเรียนพณิชยการบางนา ดังที่ทราบกันดีอยู่แล้วของชาวพณิชยการบางนา และในโอกาสที่ได้รับการยกฐานะเป็นวิทยาลัย คุณบุญนาค-คุณสุเทพ รุ่งแสง ยังมีศรัทธาต่อการศึกษาวิชาชีพจึงได้มอบที่ดินให้แก่วิทยาลัยฯ อีก 4 ไร่ โดยมอบให้ คุณชนะ รุ่งแสง (บุตร) เป็นผู้ดำเนินการ

เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2518 กรมอาชีวศึกษาได้แต่งตั้ง นายสำลี บุษสาย อาจารย์เอกวิทยาลัยพณิชยการพระนคร (ขณะนั้น) มารักษาการผู้อำนวยการวิทยาลัยสืบแทน ดร.ไพศาลย์ จามรมาน ซึ่งขอย้ายไปประจำกรม เนื่องจากสุขภาพไม่สมบูรณ์

เมื่อวิทยาลัยพณิชยการบางนาได้รับมอบที่ดินเพิ่มเติมจำนวน 4 ไร่ ดังกล่าวแล้ว กรมอาชีวศึกษาได้ขอตั้งงบประมาณจำนวน 15 ล้านบาท ในงบประมาณปี 2519 เพื่อทำการก่อสร้างอาคารเรียนและในการดำเนินการประกวดราคานั้น ผู้ประกวดราคาได้ในวงเงิน 15,300,000 บาท (สิบห้าล้านสามแสนบาทถ้วน) วิทยาลัยฯ จึงได้นำเงินบำรุงการศึกษาจำนวน 300,000 บาท (สามแสนบาทถ้วน) เข้าสมบทในการก่อสร้างและในวันที่ 4 พฤษภาคม 2519 ได้เรียนเชิญคุณบุญนาค-คุณสุเทพ รุ่งแสง คุณละออ รุ่งเรือง มาเป็นพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารหลังใหม่ 4 ชั้น ในที่ดินดังกล่าว

การดำเนินงานและบริหารราชการของวิทยาลัยพณิชการบางนาในระหว่างปี พ.ศ. 2518 เป็นระยะเวลา 8 ปีเศษ ซึ่งมีนายสำลี บุษสาย เป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยฯ นั้นได้เจริญก้าวหน้ามาเป็นลำดับจนถึงวันที่ 1 ตุลาคม 2526 กรมอาชีวศึกษาได้มีคำสั่งโยกย้ายและสับเปลี่ยนผู้บริหารวิทยาลัยฯ โดยแต่งตั้งให้ นายสำลี บุษสาย ไปเป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการธนบุรีและให้ ดร.ศรีสง่า กรรณสูต ผู้อำนวยการวิทยาลัยอินทราชัย มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา แต่เนื่องจาก ดร.ศรีสง่า กรรณสูต ได้ลาออกจากราชการเพื่อไปประกอบอาชีพส่วนตัว จึงทำให้ตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนาว่างลง

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2526 กรมอาชีวศึกษาได้แต่งตั้งให้ นายประทีป ปฐมกสิกุล มาดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และต่อมาได้มีการประกวดราคาก่อสร้างอาคาร 6 ชั้น ในวงเงินประมาณ 10,542,000 บาท (สิบล้านห้าแสนสี่หมื่นสองพันบาทถ้วน) และใน พ.ศ. 2528 กรมอาชีวศึกษา ได้อนุมัติให้จัดซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีกเป็นจำนวน 7 ไร่ 2 งาน 95 ตารางวา ด้วยเงินบำรุงการศึกษาในราคา 12,380,000 บาท (สิบสองล้านสามแสนแปดหมื่นบาทถ้วน) รวมเป็นเนื้อที่ทั้งหมด 22 ไร่ 3 งาน 18 ตารางวา และในปีการศึกษา 2529 วิทยาลัยพณิชยการบางนาได้รับโล่เกียรติยศจากกรมอาชีวศึกษา ให้เป็น “สถานศึกษาเร่งรัดพัฒนาดีเด่น”

วันที่ 1 ตุลาคม 2530 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายพิพัฒน์ บุญญาสัย มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และในปีการศึกษา 2531 วิทยาลัยฯ ได้รับโล่รางวัลจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยให้เป็น “ห้องสมุดดีเด่นของกรมอาชีวศึกษา” และได้รับโล่รางวัล “การจัดกิจกรรมจริยศึกษาดีเด่นของกระทรวงศึกษาธิการ” พร้อมทั้งได้รับการเสนอชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสถานศึกษาดีเด่นของกองวิทยาลัยอาชีวศึกษากลุ่มภาคกลางอีกด้วย

ในปีการศึกษา 2532 วิทยาลัยฯ ได้จัดสร้างพระพุทธรูปประจำวิทยาลัยขึ้น โดยตั้งชื่อว่า “พระพุทธสิริศิกษกบางนามหามงคล” โดยมีผู้บริจาคค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 264,505.50 บาท (สองแสนหกหมื่นสี่พันห้าร้อยบาทห้าสิบสตางค์) และได้อนุมัติจัดสร้างอาคารเรียนเฉลิมพระเกียรติ 7 ชั้น ขึ้น 1 หลัง ในวงเงินงบประมาณ 28,270,000 บาท (ยี่สิบแปดล้านสองแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน) และเงินบำรุงการศึกษา 10,000,000 บาท (สิบล้านบาทถ้วน) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 38,270,000 บาท (สามสิบแปดล้านสองแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน) เพื่อใช้เป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติด้านการตลาด บัญชี คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ และเลขานุการ นอกจากนี้ยังได้ของอนุมัติจัดสร้างคูหาลูกเสือวิสามัญ 1 หลัง ในวงเงินงบประมาณ 2,100,000 บาท (สองล้านหนึ่งแสนบาทถ้วน) เพื่อใช้เป็นสถานที่ทำการของกองลูกเสือของวิทยาลัยพณิชยการบางนา

วันที่ 1 ตุลาคม 2534 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายไพโรจน์ ปวะบุตร มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และในปีการศึกษา 2535 วิทยาลัยฯ ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “สถานศึกษาดีเด่นของกรมอาชีวศึกษา”

วันที่ 1 ตุลาคม 2536 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายวิเชิด ผาสุข มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และได้จัดสร้างโรงอาหารและหอประชุมขึ้น 1 หลัง มีพื้นที่ 4,800 ตารางเมตร โดยได้รับงบประมาณ 25,792,000 บาท (ยี่สิบห้าล้านเจ็ดแสนเก้าหมื่นสองพันบาทถ้วน)

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2538 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายสมนึก แตงสกุล มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา ได้จัดสร้างอาคารเรียนและห้องปฏิบัติการอาคาร 7 ชั้น 1 หลัง มีพื้นที่ 6,000 ตาราเมตร โดยได้รับงบประมาณ 38,350,000 (สามสิบแปดล้านสามแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) และบ้านพักครูแบบแฟลต 14 หน่วย 1 หลัง โดยได้รับงบประมาณ 5,700,000
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Because of the effects of teaching and the school's reputation, business administration College, some blues, in the conduct of the student with the need of citizens to higher education has a lot of vocational education Department declared the school as business administration College, Bangna is made up of a "College of business administration College of some Nazi." When the June 4 2517 taught students and two students, is a high school (m-f, 6), career level and higher sentences (mortgage) is counting the time since the operation instruction until the change as a College in just 4 years. When a school has been raised as a college. Dr. Phaisan Chamonman Head teachers have been appointed as "Director of the College and the College of business administration College merits some and owe you per family" to dawn "and" prosperous "is a very already please donate land, established a school of business administration College, bang na, known as public of business administration College nationals in Bangna and opportunities has been raised as a college you bun NAK-suthep rung light. There are also vocational education faith will give four acres of land provided to the wityalai so you win. Dawn light (son) Once the vocational Department inducted May 19 2518. Mr. Butsai Samli Professor College of business administration College Ambassador to Bangkok (at that time), acting Director of the successor instead of College. Dr. Phaisan Chamonman which moved to the Department of health did not complete due. When the College of business administration College, some have assigned more land 4 acres that the Department of vocational education has asked for 15 billion baht budget set. In the budget year 2519 to complete construction of the school building and in action contest. Contestants can limit 15,300,000 baht (fifteen million three hundred thousand baht) wityalai took the money to the amount of 300,000 baht (three hundred thousand baht) Into the equation, the chapter on construction and on May 4, has invited you to 2519 bun NAK-suthep. Dawn light Are you la-or lost as new building laid the foundation stone ceremony on 4 floors in such land. Operation and management of Bangna phanit College Government during a period of 8 years, 2518 debris which has Mr. Samli Butsai is the Director of the wityalai it has a progressive series until October 1, vocational Department ordered 2526 migrating Executive shuffle and wityalai, by appointment, Mr. Samli Butsai to is the Director of the College of business administration College, and. Dr. Sitnga Kansut The Director of the University of Wi-tharachai Appointed Director of the College of business administration College, bang na, but because Dr. Sitnga Kansut. Has resigned from the Government to go for private occupation, thus making the position, Director of the College of business administration College, bang na to? วันที่ 1 พฤศจิกายน 2526 กรมอาชีวศึกษาได้แต่งตั้งให้ นายประทีป ปฐมกสิกุล มาดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และต่อมาได้มีการประกวดราคาก่อสร้างอาคาร 6 ชั้น ในวงเงินประมาณ 10,542,000 บาท (สิบล้านห้าแสนสี่หมื่นสองพันบาทถ้วน) และใน พ.ศ. 2528 กรมอาชีวศึกษา ได้อนุมัติให้จัดซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีกเป็นจำนวน 7 ไร่ 2 งาน 95 ตารางวา ด้วยเงินบำรุงการศึกษาในราคา 12,380,000 บาท (สิบสองล้านสามแสนแปดหมื่นบาทถ้วน) รวมเป็นเนื้อที่ทั้งหมด 22 ไร่ 3 งาน 18 ตารางวา และในปีการศึกษา 2529 วิทยาลัยพณิชยการบางนาได้รับโล่เกียรติยศจากกรมอาชีวศึกษา ให้เป็น “สถานศึกษาเร่งรัดพัฒนาดีเด่น” วันที่ 1 ตุลาคม 2530 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายพิพัฒน์ บุญญาสัย มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และในปีการศึกษา 2531 วิทยาลัยฯ ได้รับโล่รางวัลจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยให้เป็น “ห้องสมุดดีเด่นของกรมอาชีวศึกษา” และได้รับโล่รางวัล “การจัดกิจกรรมจริยศึกษาดีเด่นของกระทรวงศึกษาธิการ” พร้อมทั้งได้รับการเสนอชื่อเพื่อคัดเลือกเป็นสถานศึกษาดีเด่นของกองวิทยาลัยอาชีวศึกษากลุ่มภาคกลางอีกด้วย ในปีการศึกษา 2532 วิทยาลัยฯ ได้จัดสร้างพระพุทธรูปประจำวิทยาลัยขึ้น โดยตั้งชื่อว่า “พระพุทธสิริศิกษกบางนามหามงคล” โดยมีผู้บริจาคค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 264,505.50 บาท (สองแสนหกหมื่นสี่พันห้าร้อยบาทห้าสิบสตางค์) และได้อนุมัติจัดสร้างอาคารเรียนเฉลิมพระเกียรติ 7 ชั้น ขึ้น 1 หลัง ในวงเงินงบประมาณ 28,270,000 บาท (ยี่สิบแปดล้านสองแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน) และเงินบำรุงการศึกษา 10,000,000 บาท (สิบล้านบาทถ้วน) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 38,270,000 บาท (สามสิบแปดล้านสองแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน) เพื่อใช้เป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติด้านการตลาด บัญชี คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ และเลขานุการ นอกจากนี้ยังได้ของอนุมัติจัดสร้างคูหาลูกเสือวิสามัญ 1 หลัง ในวงเงินงบประมาณ 2,100,000 บาท (สองล้านหนึ่งแสนบาทถ้วน) เพื่อใช้เป็นสถานที่ทำการของกองลูกเสือของวิทยาลัยพณิชยการบางนา วันที่ 1 ตุลาคม 2534 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายไพโรจน์ ปวะบุตร มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และในปีการศึกษา 2535 วิทยาลัยฯ ได้รับการคัดเลือกให้เป็น “สถานศึกษาดีเด่นของกรมอาชีวศึกษา” วันที่ 1 ตุลาคม 2536 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายวิเชิด ผาสุข มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา และได้จัดสร้างโรงอาหารและหอประชุมขึ้น 1 หลัง มีพื้นที่ 4,800 ตารางเมตร โดยได้รับงบประมาณ 25,792,000 บาท (ยี่สิบห้าล้านเจ็ดแสนเก้าหมื่นสองพันบาทถ้วน) วันที่ 30 พฤศจิกายน 2538 กรมอาชีวศึกษา ได้แต่งตั้งให้ นายสมนึก แตงสกุล มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยพณิชยการบางนา ได้จัดสร้างอาคารเรียนและห้องปฏิบัติการอาคาร 7 ชั้น 1 หลัง มีพื้นที่ 6,000 ตาราเมตร โดยได้รับงบประมาณ 38,350,000 (สามสิบแปดล้านสามแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) และบ้านพักครูแบบแฟลต 14 หน่วย 1 หลัง โดยได้รับงบประมาณ 5,700,000
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: