บทคัดย่อการเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลโดยอาศัยแหล่งน้ำทะเลตามธรรมชาติก่อให้เกิ การแปล - บทคัดย่อการเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลโดยอาศัยแหล่งน้ำทะเลตามธรรมชาติก่อให้เกิ อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อการเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลโดยอา

บทคัดย่อ

การเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลโดยอาศัยแหล่งน้ำทะเลตามธรรมชาติก่อให้เกิดการเพิ่มปริมาณของสารประกอบไนโตรเจนที่เกิดจากการขับถ่ายของเสียจากสัตว์ทะเล ทำให้เกิดภาวะเน่าเสียตามมาจุดมุ่งหมายในการศึกษาครั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยวิธีการทางชีวภาพโดยศึกษาความสามารถในการดูดซับไนโตรเจนของสาหร่ายพวงองุ่น (CaulerpalentilliferaJ. Agardh) โดยใช้น้ำทะเลและน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงปลาการ์ตูนของสถานีวิจัยการประมงศรีราชาจังหวัดชลบุรีดำเนินการระหว่างวันที่ 10-5เมษายน 2558 โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ขั้นตอน โดยตอนที่ 1 ศึกษาความสามารถในการดูดซับไนโตรเจนของสาหร่ายพวงองุ่นในน้ำทะเลตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซับไนโตรเจนของสาหร่ายพวงองุ่นในน้ำทิ้งจากการเลี้ยงปลาการ์ตูนของสถานีวิจัยการประมงศรีราชาโดยหนึ่งขั้นตอนใช้ถังขนาด 4 ลิตรบรรจุน้ำ 3 ลิตรจำนวน 3 ชุดชุดที่ 1 ไม่ใส่สาหร่าย(ชุดควบคุม) ชุดที่2 ใส่สาหร่ายพวงองุ่นจำนวน 3 กรัมเช่นกันทำการวิเคราะห์ปริมาณแอมโมเนียและไนเตรทก่อนและหลังการทดลอง 3 วันพบว่าในการทดลองตอนที่ 1 ประสิทธิภาพในการดูดซับไนโตรเจนของแต่ละชุดการทดลองให้ผลดังนี้ในการดูดซับไนโตรเจนของแต่ละชุดการทดลองให้ผลดังนี้13.9433± 0.0617, 16.8270 ± 0.0029 และ 15.7911 ± 0.0183 μg-at N/l/ at N/l/กรัมน้ำหนักสาหร่ายสด/วันจากผลการทดลองพบว่าสาหร่ายพวงองุ่นยังสามารถบำบัดไนโตรเจนได้ดีในน้ำที่มีปริมาณแร่ธาตุสูงและมีประสิทธิภาพในการบำบัดในระยะเวลาสั้นๆจากงานวิจัยนี้จะนำไปสู่การพัฒนางานวิจัยศึกษาประสิทธิภาพในการบำบัดคุณภาพน้ำในสาหร่ายน้ำจืดเพื่อจัดทำระบบกรองน้ำในตู้ปลาการ์ตูนต่อไป


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Abstractการเพาะเลี้ยงสัตว์ทะเลโดยอาศัยแหล่งน้ำทะเลตามธรรมชาติก่อให้เกิดการเพิ่มปริมาณของสารประกอบไนโตรเจนที่เกิดจากการขับถ่ายของเสียจากสัตว์ทะเล ทำให้เกิดภาวะเน่าเสียตามมาจุดมุ่งหมายในการศึกษาครั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยวิธีการทางชีวภาพโดยศึกษาความสามารถในการดูดซับไนโตรเจนของสาหร่ายพวงองุ่น (CaulerpalentilliferaJ. Agardh) โดยใช้น้ำทะเลและน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงปลาการ์ตูนของสถานีวิจัยการประมงศรีราชาจังหวัดชลบุรีดำเนินการระหว่างวันที่ 10-5เมษายน 2558 โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 ขั้นตอน โดยตอนที่ 1 ศึกษาความสามารถในการดูดซับไนโตรเจนของสาหร่ายพวงองุ่นในน้ำทะเลตอนที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพในการดูดซับไนโตรเจนของสาหร่ายพวงองุ่นในน้ำทิ้งจากการเลี้ยงปลาการ์ตูนของสถานีวิจัยการประมงศรีราชาโดยหนึ่งขั้นตอนใช้ถังขนาด 4 ลิตรบรรจุน้ำ 3 ลิตรจำนวน 3 ชุดชุดที่ 1 ไม่ใส่สาหร่าย(ชุดควบคุม) ชุดที่2 ใส่สาหร่ายพวงองุ่นจำนวน 3 กรัมเช่นกันทำการวิเคราะห์ปริมาณแอมโมเนียและไนเตรทก่อนและหลังการทดลอง 3 วันพบว่าในการทดลองตอนที่ 1 ประสิทธิภาพในการดูดซับไนโตรเจนของแต่ละชุดการทดลองให้ผลดังนี้ในการดูดซับไนโตรเจนของแต่ละชุดการทดลองให้ผลดังนี้13.9433± 0.0617, 16.8270 ± 0.0029 และ 15.7911 ± 0.0183 μg-at N/l/ at N/l/กรัมน้ำหนักสาหร่ายสด/วันจากผลการทดลองพบว่าสาหร่ายพวงองุ่นยังสามารถบำบัดไนโตรเจนได้ดีในน้ำที่มีปริมาณแร่ธาตุสูงและมีประสิทธิภาพในการบำบัดในระยะเวลาสั้นๆจากงานวิจัยนี้จะนำไปสู่การพัฒนางานวิจัยศึกษาประสิทธิภาพในการบำบัดคุณภาพน้ำในสาหร่ายน้ำจืดเพื่อจัดทำระบบกรองน้ำในตู้ปลาการ์ตูนต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: