พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ. 2512 (แก้ไขเพิ่มเ การแปล - พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ. 2512 (แก้ไขเพิ่มเ อังกฤษ วิธีการพูด

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535พระราช


พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ. 2512 (แก้ไขเพิ่มเติมพ.ศ. 2518 และ 2522) และ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรงงานเป็นกฎหมายที่ใช้ในการควบคุมและกำกับ ดูแลการตั้ง และประกอบกิจการโรงงานเพื่อประโยชน์ในทางเศษฐกิจและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ความปลอดภัยของประเทศ หรือของสาธารณชน การป้องกันเหตุเดือดร้อน รำคาญ การป้องกันความเสียหายกันป้องกันอันตรายที่ อาจจะเกิดแก่ประชาชนหรือ สิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติโรงงานได้รับการประกาศใช้ เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2482 แก้ไข เพิ่มเติมเมื่อปี พ.ศ. 2503 ถูกยกเลิก ไปในปี พ.ศ. 2512 และได้ใช้พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2512 แก้ไขเพิ่มเติมเมื่อ พ.ศ. 2518 และ2522 จนถึงต้นปี พ.ศ. 2535 จึงได้ถูก ประกาศยกเลิกและเริ่มใช้พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 แทน โดยมีสาระสำคัญ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมดัง รายละเอียดที่จะกล่าวดังต่อไปนี้

มาตรา 5
กำหนดความหมายของ "โรงงาน" เป็นอาคารสถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ 5 แรงม้าหรือ กำลังเทียบเท่าตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไป(พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 กำหนดเป็นตั้งแต่ 2 แรงม้าหรือ กำลังเทียบเท่าตั้งแต่ 2 แรงม้าขึ้นไป )หรือใช้คนงานตั้แต่ 7 คนขึ้นไป โดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตาม

หมวด 1: การประกอบกิจการโรงงาน
มาตรา 7
กำหนดแบ่งโรงงานออกเป็น 3 ประเภท ขึ้นอยู่กับความจำเป็นในการควบคุมการป้องกันเหตุเดือดร้อน รำคาญการป้องกันความเสียหาย และการป้องกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของผลกระทบที่จะมี ต่อประชาชนหรือสิ่งแวดล้อม คือ
โรงงานจำพวกที่ 1 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาด ที่สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทันที
โรงงานจำพวกที่ 2 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาด ที่เมื่อจะประกอบกิจการโรงงาน ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบก่อน
โรงงานจำพวกที่ 3 ได้แก่โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งจะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะ ดำเนินการ
มาตรา 8
ให้รัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมมีอำนาจออกกฏกระทรวง เพื่อให้โรงงานจำพวกใดจำพวกหนึ่งหรือทุกจำพวกต้อง ปฏิบัติตามในเรื่องต่อไปนี้(เฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับอากาศเสีย)
(1) กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับที่ตั้งของโรงงานสภาพแวดล้อมของโรงงาน ลักษณะอาคารของโรงงานหรือลักษณะภายในของโรงงาน
(2) กำหนดลักษณะ ประเภทหรือชนิดของเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือสิ่งที่ต้องนำมาใช้ในการประกอบกิจการโรงงาน
(3) กำหนดให้มีคนงานซึ่งมีความรู้เฉพาะตามประเภท ชนิดหรือขนาดของโรงงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่หนึ่งหน้าที่ใดประจำโรงงาน
(4) กำหนดหลักเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติกรรมวิธีการผลิตและการจัดให้มีอุปกรณ์หรือเครื่องมืออื่นใดเพื่อป้องกัน หรือระงับหรือบรรเทาอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนที่อาจเกิดแก่บุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในโรงงาน หรือที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงาน
(5) กำหนดมาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน
(6) กำหนดการจัดการให้มีเอกสารที่จำเป็นประจำโรงงาน เพื่อประโยชน์ในการควบคุม หรือตรวจสอบการปฏิบัติตามกฏหมาย
(7)กำหนดข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจการโรงงานที่ผู้ประกอบกิจการ โรงงานต้องแจ้งให้ทราบเป็น ครั้งคราวหรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้
(8) กำหนดการอื่นใดเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยในการดำเนินงาน เพื่อป้องกันหรือระงับหรือบรรเทาอันตราย หรือความเสียหายที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฏกระทรวง หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวงที่ออกตาม มาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ(8) ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท (มาตรา 45)
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฏกระทรวง หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวงที่ออกตาม มาตรา 8 (6)หรือ (7) ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 46)
มาตรา 9
ให้เอกชนสามารถเป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบโรงงานหรือเครื่องจักรและจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ แทนการ ปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ได้
ผู้ใดจัดทำผลการตรวจสอบอันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 47)
มาตรา 10
ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 1 ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฏกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 และประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวง
มาตรา 11
ให้ผู้ประกอบการกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฏกระทรวง ที่ออกตามมาตรา 8 และประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวง และเมื่อจะเริ่มประกอบกิจการโรงงาน ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิกประกอบกิจการ โอน ให้เช่าหรือให้เช่าซื้อโรงงาน
ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 โดยไม่แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับ ไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 48)
ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ที่แจ้งการประกอบกิจการไม่ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่แจ้งให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ ทราบ เมื่อเลิก ประกอบกิจการ โอน ให้เช่า หรือให้เช่าซื้อโรงงาน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 49)
มาตรา 12
ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนดในกฏกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 และประกาศของรัฐมนตรี ที่ออกตามกฏกระทรวง และประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามมาตรา 32 และห้ามตั้งโรงงานก่อนได้รับใบอนุญาติ
ในกรณีใดที่ยังมิได้มีหลักเกณฑ์กำหนดไว้ ให้ผู้มีอำนาจอนุญาตพิจารณา โดยคำนึกถึงความปลอดภัยของบุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในโรงงานหรือที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงานหรือจะกำหนดเงื่อนไข ที่ประกอบกิจการโรงงานจะต้องปฏิบัติเป็นพิเศษไว้ในใบอนุญาตก็ได้
ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 โดยไม่ได้รับใบอนุญาตหรือตั้งโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 50)
ถ้าเป็นโรงงานประเภทหนึ่งหรือชนิดท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The factory Act b.e. 2535Act of b.e. 2512 plant (b.e. 2522 2518 and amendments) and b.e. 2535 factory Act is a law that is used to control and supervise the area and factory to the benefits in relation to economic and environmental conservation. The stability, the security of the country or of the public. The averted nuisance to prevent damage to prevent hazards that may be caused to the public or to the environment. Factory Act has been promulgated for the first time, when 1933 2482 was more years 2503 was cancelled in 1976 and 2512 Act b.e. 2512 Mills amends when b.e. 2518 and 2522 (1979), 2535 was declared cancelled and started using the factory Act 2535 (1992) represented by significant. Changed from the original Details of the following:Section 5.Define the meaning of "factory" is a building or a vehicle that is used, there are machines from 5 HP or equivalent to 5 HP (the factory Act, b.e. 2512 defined as two horsepower or equivalent from 2 HP and above) or use the workers enrolled but 7 people machines or not.Chapter 1: the factorySection 7Dividing the plant into 3 categories depending on the need to control the averted trouble. Bother to prevent damage and to prevent dangers, according to severity of impact. To the public or to the environment is a.1 Genera include factory factory types and sizes that can be factory immediately.The 2 genera include factory plant types and sizes, and when the factory must be notified prior to the permit.Plant genera 3 plant types and sizes set must be licensed before they can continue.Section 8Ministers of industry are a Ministry so that any one of the genera, genera or plant debris, all must. Comply with the following (only about polluted air)(1) determine the criteria regarding the location of the factory, the factory environment. The characteristic buildings of the factory or the factory's internal characteristics.(2) preference category or type of machinery, equipment or thing must be used in the factory.(3) given the fact that people only knowledge by category. The type or size of the factory, one of the duties of regular duties to any factory.(4) to set the criteria that must follow manufacturing methods and to provide equipment or any other tools to prevent or suppress or mitigate danger or damage that might be suffered to a person or property that is located in the nearby factory or plant.(5) set the standard, and how to control the emission of pollution or anything that have an effect on the environment which is born from the factory.(6) the schedule, with the necessary documentation for the benefit of factory routine in the control or monitoring of compliance with the law.(7) the necessary information concerning factory operations The factory must inform them periodically or as a defined period.(8) any other schedule to protect safety in operations to prevent or suppress or mitigate danger or damage resulting from the factory.Any person violating or not complying with attachment, or a declaration of the Minister that the Ministry issued in accordance with article 8 (1) (2) (3) (4), (5) or (8) is liable to a fine not exceeding 200,000 baht (section 45).Any person violating or not complying with attachment, or a declaration of the Minister that the Ministry issued in accordance with article 8 (6) or (7) is liable to a fine not exceeding 20,000 baht (section 46).Section 9.Let the private sector can operate machinery or plant monitoring and reporting monitoring results instead of. Duties of officers.Anyone prepared to check results of misrepresentation is liable to imprisonment not exceeding 2 years or a fine not exceeding 200,000 baht, or both (section 47).Section 10Factory operators, e.g. 1 must comply with the criteria stipulated in the Ministry issued in accordance with article 8 and the Minister's announcement issued by the Ministry.Section 11The factory class 2 must comply with the criteria stipulated in the Ministry issued in accordance with article 8 of the Declaration issued by the Ministers and the Ministry, and when to start a factory, tell the staff before notice to employees and officials within 30 days from the date of liquidation of the business of transfer, rent or lease the factory.Factory operators, 2 genera without informing the officers know be punishable by imprisonment for up to six months or fined not exceeding 50,000 baht or both (section 48).Factory operators, 2 genera that says business is incorrect or does not inform the employee. Officials know when the liquidation of the business of transferring the rent or lease factories liable to a fine not exceeding 20,000 baht (section 49).Section 12.Class factory operators, who must obtain a license from the license, and must comply with the criteria stipulated in the Ministry issued in accordance with article 8 and the Minister's announcement that the Ministry and the Minister's announcement issued in accordance with article 32 and not a factory reset before receiving permits.In any case, the criteria defined by the authority allowed the word conjures up a person's safety or property that is located in the nearby factory or plant or to set conditions that factory must be practiced as a special permit it.Factory operators, 3 genera, without obtaining a permit or to factory settings without a permit. Be punishable by imprisonment for not more than 2 years or a fine not exceeding 200,000 baht, or both (section 50).If it is a type of plant or type of suite.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ. 2512 (แก้ไขเพิ่มเติมพ.ศ. 2518 และ 2522) และ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรงงานเป็นกฎหมายที่ใช้ในการควบคุมและกำกับ ดูแลการตั้ง และประกอบกิจการโรงงานเพื่อประโยชน์ในทางเศษฐกิจและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง ความปลอดภัยของประเทศ หรือของสาธารณชน การป้องกันเหตุเดือดร้อน รำคาญ การป้องกันความเสียหายกันป้องกันอันตรายที่ อาจจะเกิดแก่ประชาชนหรือ สิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติโรงงานได้รับการประกาศใช้ เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2482 แก้ไข เพิ่มเติมเมื่อปี พ.ศ. 2503 ถูกยกเลิก ไปในปี พ.ศ. 2512 และได้ใช้พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2512 แก้ไขเพิ่มเติมเมื่อ พ.ศ. 2518 และ2522 จนถึงต้นปี พ.ศ. 2535 จึงได้ถูก ประกาศยกเลิกและเริ่มใช้พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 แทน โดยมีสาระสำคัญ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมดัง รายละเอียดที่จะกล่าวดังต่อไปนี้

มาตรา 5
กำหนดความหมายของ "โรงงาน" เป็นอาคารสถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ 5 แรงม้าหรือ กำลังเทียบเท่าตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไป(พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 กำหนดเป็นตั้งแต่ 2 แรงม้าหรือ กำลังเทียบเท่าตั้งแต่ 2 แรงม้าขึ้นไป )หรือใช้คนงานตั้แต่ 7 คนขึ้นไป โดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตาม

หมวด 1: การประกอบกิจการโรงงาน
มาตรา 7
กำหนดแบ่งโรงงานออกเป็น 3 ประเภท ขึ้นอยู่กับความจำเป็นในการควบคุมการป้องกันเหตุเดือดร้อน รำคาญการป้องกันความเสียหาย และการป้องกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของผลกระทบที่จะมี ต่อประชาชนหรือสิ่งแวดล้อม คือ
โรงงานจำพวกที่ 1 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาด ที่สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทันที
โรงงานจำพวกที่ 2 ได้แก่ โรงงานประเภท ชนิด และขนาด ที่เมื่อจะประกอบกิจการโรงงาน ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบก่อน
โรงงานจำพวกที่ 3 ได้แก่โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งจะต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะ ดำเนินการ
มาตรา 8
ให้รัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมมีอำนาจออกกฏกระทรวง เพื่อให้โรงงานจำพวกใดจำพวกหนึ่งหรือทุกจำพวกต้อง ปฏิบัติตามในเรื่องต่อไปนี้(เฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับอากาศเสีย)
(1) กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับที่ตั้งของโรงงานสภาพแวดล้อมของโรงงาน ลักษณะอาคารของโรงงานหรือลักษณะภายในของโรงงาน
(2) กำหนดลักษณะ ประเภทหรือชนิดของเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือสิ่งที่ต้องนำมาใช้ในการประกอบกิจการโรงงาน
(3) กำหนดให้มีคนงานซึ่งมีความรู้เฉพาะตามประเภท ชนิดหรือขนาดของโรงงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่หนึ่งหน้าที่ใดประจำโรงงาน
(4) กำหนดหลักเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติกรรมวิธีการผลิตและการจัดให้มีอุปกรณ์หรือเครื่องมืออื่นใดเพื่อป้องกัน หรือระงับหรือบรรเทาอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนที่อาจเกิดแก่บุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในโรงงาน หรือที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงาน
(5) กำหนดมาตรฐานและวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษหรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน
(6) กำหนดการจัดการให้มีเอกสารที่จำเป็นประจำโรงงาน เพื่อประโยชน์ในการควบคุม หรือตรวจสอบการปฏิบัติตามกฏหมาย
(7)กำหนดข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจการโรงงานที่ผู้ประกอบกิจการ โรงงานต้องแจ้งให้ทราบเป็น ครั้งคราวหรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้
(8) กำหนดการอื่นใดเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยในการดำเนินงาน เพื่อป้องกันหรือระงับหรือบรรเทาอันตราย หรือความเสียหายที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฏกระทรวง หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวงที่ออกตาม มาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ(8) ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท (มาตรา 45)
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฏกระทรวง หรือประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวงที่ออกตาม มาตรา 8 (6)หรือ (7) ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 46)
มาตรา 9
ให้เอกชนสามารถเป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบโรงงานหรือเครื่องจักรและจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ แทนการ ปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ได้
ผู้ใดจัดทำผลการตรวจสอบอันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 47)
มาตรา 10
ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 1 ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฏกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 และประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวง
มาตรา 11
ให้ผู้ประกอบการกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฏกระทรวง ที่ออกตามมาตรา 8 และประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามกฏกระทรวง และเมื่อจะเริ่มประกอบกิจการโรงงาน ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อนและแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิกประกอบกิจการ โอน ให้เช่าหรือให้เช่าซื้อโรงงาน
ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 โดยไม่แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับ ไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ(มาตรา 48)
ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 2 ที่แจ้งการประกอบกิจการไม่ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่แจ้งให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ ทราบ เมื่อเลิก ประกอบกิจการ โอน ให้เช่า หรือให้เช่าซื้อโรงงาน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 49)
มาตรา 12
ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนดในกฏกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 และประกาศของรัฐมนตรี ที่ออกตามกฏกระทรวง และประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามมาตรา 32 และห้ามตั้งโรงงานก่อนได้รับใบอนุญาติ
ในกรณีใดที่ยังมิได้มีหลักเกณฑ์กำหนดไว้ ให้ผู้มีอำนาจอนุญาตพิจารณา โดยคำนึกถึงความปลอดภัยของบุคคลหรือทรัพย์สินที่อยู่ในโรงงานหรือที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงานหรือจะกำหนดเงื่อนไข ที่ประกอบกิจการโรงงานจะต้องปฏิบัติเป็นพิเศษไว้ในใบอนุญาตก็ได้
ผู้ประกอบกิจการโรงงานจำพวกที่ 3 โดยไม่ได้รับใบอนุญาตหรือตั้งโรงงานโดยไม่ได้รับใบอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 50)
ถ้าเป็นโรงงานประเภทหนึ่งหรือชนิดท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The factory act of 2535.The factory act, B.E. 2512 (and amended in 2518 2522) and B.E. 2535 Factory Act, the laws are used in controlling and directing. Take care to set up and operate factory for the benefit of the economy and the environment, security, the security of the country, or of the public. Prevention and cause trouble, annoyed, preventing damage protect dangers may be to people or the environment act, the factory has been adopted. For the first time the 2482 edit, add the 2503 was cancelled, the 2512 and used the factory act The 2512 amended when the 2518 2522 until early in 2535 and so right. The canceled and start using the factory act of 2535 instead, the main change จากเดิม as the details to say the following.Section 5.The meaning of "factory" is building. Vehicles used machinery are included since 5 horsepower or are equivalent since 5 แรงม้ made up (the factory act of 2512 set since 2 horsepower. Since 2 horsepower is equivalent or above) or use the workers since 7 persons. Using machines or not.Food 1: operate factorySection 7.The divided into 3 factory type. Based on the necessity of prevention control cause trouble. On preventing damage. And the protection on the severity of the impact it will have. To the people or the environment.The factory type 1 including plant category, type and size, can operate the factory immediately.The factory type 2 including plant category, type and size. When to operate factory To notify the Licensor informed.Remember that 3 factory factory include category, type and size of the set will have to get a license before May, proceed.Section 8.The Minister of industry have the power to issue the Ministry. To the factory of one or all of any kind. Follow the following (only about air pollution).(1) the rule about the location of the factory conditions.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: