ขั้นตอนการสอนแบบ B-SLIMธูปทอง กว้างสวาสดิ์ (2544 : 24-30) ได้สรุปไว้ว่ การแปล - ขั้นตอนการสอนแบบ B-SLIMธูปทอง กว้างสวาสดิ์ (2544 : 24-30) ได้สรุปไว้ว่ อังกฤษ วิธีการพูด

ขั้นตอนการสอนแบบ B-SLIMธูปทอง กว้าง

ขั้นตอนการสอนแบบ B-SLIM
ธูปทอง กว้างสวาสดิ์ (2544 : 24-30) ได้สรุปไว้ว่ากิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสื่อสารมีกิจกรรมที่หลากหลาย แต่กิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจ คือการสอนภาษาที่สองของ บิลาช Bilash’s Second Language Instructional Model หรือ B-SLIM Model. ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดังนี้
1. ขั้นวางแผนและการเตรียม (Planning and Preparation) ขั้นนี้ครูจะเลือก
กิจกรรมและเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและความสนใจของผู้เรียน นอกจากนั้นครูต้องจัดเตรียมสื่อและอุปกรณ์ ที่จำเป็นเพื่อช่วยให้ผู้
เรียนเกิดการเรียนรู้ สื่อต้องน่าสนใจและสอดคล้องกับเนื้อหา และควรเป็นสื่อที่เป็นของจริง
2. ขั้นทำความเข้าใจตัวป้อนหรือข้อความรู้ใหม่ (Comprehensible Input)
ขั้นนี้ครูต้องอธิบายความรู้ใหม่ ข้อมูลหรือตัวป้อนใหม่ โดยตั้งอยู่บนฐานความรู้เดิมของผู้เรียน ครูสามารถให้ตัวป้อนเหล่านี้ ในการที่นักเรียนจะเข้าใจหรือเกิดการเรียนรู้ โดยการขยายความ อธิบายเพิ่มเติม บิลาช ได้จำแนกตัวป้อนด้านความรู้ออกเป็น 9 ชนิดดังนี้
2.1 การรับรู้ภาษา (Language Awareness) บิลาชและทูลาซิวิคซ์ กล่าวถึงการรับรู้ทางภาษาว่า การรับรู้ภาษาเกี่ยวข้องกับเรื่องต่อไปนี้
- ทักษะทางภาษา - ทัศนคติ - การเรียนรู้และการใช้ภาษา
สิ่งเหล่านี้ผู้สอนต้องบูรณาการเข้าในกิจกรรมการเรียนการสอน และสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและขึ้นอยู่กับความพร้อมของผู้เรียน
2.2 การออกเสียง (Pronunciation) เป็นส่วนสำคัญของการพูด และเป็นทักษะที่ยากสำหรับผู้เรียนภาษาต่างประเทศก่อนที่ผู้เรียนจะสามารถพูดได้เป็นประโยค
เขาต้องออกเสียงคำได้ก่อน การออกเสียงควรเน้นความคล่องและจังหวะ การขึ้นเสียงสูงต่ำ ตามบริบทและสถานการณ์
2.3 ศัพท์ (Vocabulary) สามารถแยกออกเป็น 2 ชนิด คือ Active Vocabulary หมายถึง คำศัพท์ที่ผู้เรียนเข้าใจความหมายออกเสียงได้ถูกต้องและใช้การพูดและเขียนได้ Passive Vocabulary หมายถึง คำศัพท์ที่ผู้เรียนรู้ความหมายและเข้าใจเมื่อพบคำนั้น ในรูปประโยคหรือข้อความ แต่ไม่สามารถใช้พูดและเขียนได้ คำศัพท์ในการสอนแต่ละครั้งต้องไม่มากหรือน้อยเกินไป และต้องสอนจากศัพท์ที่ใกล้ตัว หรือคำศัพท์เพื่อการดำรงชีวิต (Survival Vocabulary) หมายถึง ศัพท์ที่ผู้เรียนใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน เช่น ศัพท์เกี่ยวกับ สัตว์ คำถาม คำทักทาย
2.4 ไวยากรณ์ (Grammar) การสอนหลักไวยากรณ์ในปัจจุบันมีแนวโน้มจะยึดหลักการสอนตามแนวสื่อสาร สามารถสอนได้ 2 วิธี คือ
2.4.1 การสอนแบบอุปนัย คือ การสอนโดยใช้กิจกรรมต่างๆ ขึ้นมาก่อนแล้วครูและนักเรียนช่วยกันสรุปกฎเกณฑ์
2.4.2 การสอนแบบนิรนัย คือ การสอนที่เริ่มจากกฎเกณฑ์ แล้วจึงฝึกการใช้กฎเกณฑ์ โดยใช้กิจกรรมต่างๆ หรือให้ทำแบบฝึกหัดเพื่อให้สนองวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ครูต้องให้ตัวอย่างเพียงพอ และสาธิตการใช้จนผู้เรียนรู้และผู้สอนต้องแม่นกฎเกณฑ์ก่อนที่จะสอนนักเรียน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Step by step tutorials to be fond of gold and incense (B-SLIM width: 2544 (2001)
: 24-30) have concluded that teaching and learning activities across a wide range of activities and communications, but one of the things that is interesting is the second language teaching lat-Bilash Second Language Instructional Model or Model consists of 5. B-SLIM sections:
1. Advanced planning and preparation (Preparation and Planning) in this stage, teachers will choose
activities and content, in accordance with the aims of the course, and the attention of the participants. In addition, the teacher must provide the necessary equipment and materials to help people
.Learning to learn The media must be compelling and consistent with the content and the media should be true
2. Understanding step feeder or new knowledge (the Comprehensible Input)
.This stage, teachers need new knowledge description Or enter a new location on the same knowledge base of participants. The teacher can provide these feeder. In order to understand student or learning by extending the. Additional lat-description 9 the type as follows:
2.1 recognition languages (Language Awareness) and lat-2 La-wik. Discusses language recognition, language recognition involves the following story
- Language skills-attitudes-to learn and use languages
.These instructors must be integrated into the teaching and activities to teach the learner-centred and based on the readiness of participants
2.2 pronunciation (Pronunciation) is an important part of the speech is a skill that is difficult for learners of a foreign language before the participant will be able to speak a sentence
.He would pronounce a word before. Pronunciation should highlight the versatility and stroke To raise the pitch according to the context and situation
2.3 terminology (Vocabulary) can be separated into 2 types: Active Vocabulary refers to words that students understand the meaning of spoken and speaking and writing. Passive Vocabulary refers to the words that people learn and understand what it means when it encounters. But it cannot be used in speaking and writing. The vocabulary in each lesson must not be too many or too few, and teaching from the nearest term or vocabulary to livelihood (Survival Vocabulary) refers to a term that participants use to communicate in everyday life. Animal vocabulary question greetings
2.4 the syntax (Grammar), a grammar school, now likely will be based on the principles taught by the communication concept. 2 ways teachers
2.4.1 Upnai tutorials are taught by using the activities coming up, then teachers and students to help summarize the rules
2.4.2 ninnai tutorials is to teach that, starting from the rules and then practice using rules based on various events or practice in order to meet our students ' learning methods. Teachers must gave example enough.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ขั้นตอนการสอนแบบ B-SLIM
ธูปทอง กว้างสวาสดิ์ (2544 : 24-30) ได้สรุปไว้ว่ากิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสื่อสารมีกิจกรรมที่หลากหลาย แต่กิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจ คือการสอนภาษาที่สองของ บิลาช Bilash’s Second Language Instructional Model หรือ B-SLIM Model. ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดังนี้
1. ขั้นวางแผนและการเตรียม (Planning and Preparation) ขั้นนี้ครูจะเลือก
กิจกรรมและเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและความสนใจของผู้เรียน นอกจากนั้นครูต้องจัดเตรียมสื่อและอุปกรณ์ ที่จำเป็นเพื่อช่วยให้ผู้
เรียนเกิดการเรียนรู้ สื่อต้องน่าสนใจและสอดคล้องกับเนื้อหา และควรเป็นสื่อที่เป็นของจริง
2. ขั้นทำความเข้าใจตัวป้อนหรือข้อความรู้ใหม่ (Comprehensible Input)
ขั้นนี้ครูต้องอธิบายความรู้ใหม่ ข้อมูลหรือตัวป้อนใหม่ โดยตั้งอยู่บนฐานความรู้เดิมของผู้เรียน ครูสามารถให้ตัวป้อนเหล่านี้ ในการที่นักเรียนจะเข้าใจหรือเกิดการเรียนรู้ โดยการขยายความ อธิบายเพิ่มเติม บิลาช ได้จำแนกตัวป้อนด้านความรู้ออกเป็น 9 ชนิดดังนี้
2.1 การรับรู้ภาษา (Language Awareness) บิลาชและทูลาซิวิคซ์ กล่าวถึงการรับรู้ทางภาษาว่า การรับรู้ภาษาเกี่ยวข้องกับเรื่องต่อไปนี้
- ทักษะทางภาษา - ทัศนคติ - การเรียนรู้และการใช้ภาษา
สิ่งเหล่านี้ผู้สอนต้องบูรณาการเข้าในกิจกรรมการเรียนการสอน และสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและขึ้นอยู่กับความพร้อมของผู้เรียน
2.2 การออกเสียง (Pronunciation) เป็นส่วนสำคัญของการพูด และเป็นทักษะที่ยากสำหรับผู้เรียนภาษาต่างประเทศก่อนที่ผู้เรียนจะสามารถพูดได้เป็นประโยค
เขาต้องออกเสียงคำได้ก่อน การออกเสียงควรเน้นความคล่องและจังหวะ การขึ้นเสียงสูงต่ำ ตามบริบทและสถานการณ์
2.3 ศัพท์ (Vocabulary) สามารถแยกออกเป็น 2 ชนิด คือ Active Vocabulary หมายถึง คำศัพท์ที่ผู้เรียนเข้าใจความหมายออกเสียงได้ถูกต้องและใช้การพูดและเขียนได้ Passive Vocabulary หมายถึง คำศัพท์ที่ผู้เรียนรู้ความหมายและเข้าใจเมื่อพบคำนั้น ในรูปประโยคหรือข้อความ แต่ไม่สามารถใช้พูดและเขียนได้ คำศัพท์ในการสอนแต่ละครั้งต้องไม่มากหรือน้อยเกินไป และต้องสอนจากศัพท์ที่ใกล้ตัว หรือคำศัพท์เพื่อการดำรงชีวิต (Survival Vocabulary) หมายถึง ศัพท์ที่ผู้เรียนใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน เช่น ศัพท์เกี่ยวกับ สัตว์ คำถาม คำทักทาย
2.4 ไวยากรณ์ (Grammar) การสอนหลักไวยากรณ์ในปัจจุบันมีแนวโน้มจะยึดหลักการสอนตามแนวสื่อสาร สามารถสอนได้ 2 วิธี คือ
2.4.1 การสอนแบบอุปนัย คือ การสอนโดยใช้กิจกรรมต่างๆ ขึ้นมาก่อนแล้วครูและนักเรียนช่วยกันสรุปกฎเกณฑ์
2.4.2 การสอนแบบนิรนัย คือ การสอนที่เริ่มจากกฎเกณฑ์ แล้วจึงฝึกการใช้กฎเกณฑ์ โดยใช้กิจกรรมต่างๆ หรือให้ทำแบบฝึกหัดเพื่อให้สนองวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ครูต้องให้ตัวอย่างเพียงพอ และสาธิตการใช้จนผู้เรียนรู้และผู้สอนต้องแม่นกฎเกณฑ์ก่อนที่จะสอนนักเรียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The teaching method of B-SLIM
incense gold wide saward (2544:24-30) have concluded that teaching and learning activities based on the communication with a variety of activities. But one of the interesting activities, is teaching second language of บิลา shifting Bilash 's Second Language Instructional Model or B-SLIM Model. Contains 5 parts. :
1.Planning and preparations (Planning and Preparation) this stage I will choose
activities and content in accordance with the aim of curriculum and the interest of the students. The teacher prepared the media and equipment. Necessary to help people
.Learn to learn the media must be interesting and in accordance with the content. And it should be the media's real
2.? Step input text understanding or new knowledge (Comprehensible Input)
.At this stage the teacher to explain the new knowledge, information, or entered the new knowledge based on the original of the students. The teacher can give these feeder In order to understand the students learning by expanding explain more. บิลา.9 types as follows:
.2.1 language awareness (Language Awareness) บิลา and Tula Civic. Discusses the language acquisition. Language awareness is related to the following story
- language skills - attitude - learning and using language
.These teachers to integrate into the teaching activities. And the method of learner centered and depends on the availability of students
2.2 pronunciation (Pronunciation) is an important part of the speech. And the hard skills for foreign language learners before students can say is ประโยค
.He have to pronounce the word before. Pronunciation should focus on the mobility and rhythm of intonation. According to contexts and situations 2
.3 vocabulary (Vocabulary) can be separated into 2 type is Active Vocabulary mean vocabulary learners to understand the meaning of screaming out correctly and use the spoken and written. Passive Vocabulary means of vocabulary learning the meaning and understand the words.But cannot be used in speech and writing. Vocabulary teaching, each not much or too little. Teaching of vocabulary and close. Or vocabulary for living (Survival Vocabulary) means that learners vocabulary used to communicate in daily life.Vocabulary about the animal question. Greetings!2.4 Grammar (Grammar) teaching grammar currently tend to stick to the principle of communication approach can teach 2 methods
2.4.1. Inductive teaching is the teaching activities. Up before the teachers and students to summarize the rules 2.4
.2 deductive teaching is teaching at the beginning of the rules, then practice using rules, using the activities Or to do exercises to meet the learning method of students. The teacher must provide samples enough.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: