ฐานที่ ๑ ประวัติปราสาท ปรางค์กู่กลางอำเภอปรางค์กู่ มีหมู่บ้านชาวกูยเล็ การแปล - ฐานที่ ๑ ประวัติปราสาท ปรางค์กู่กลางอำเภอปรางค์กู่ มีหมู่บ้านชาวกูยเล็ อังกฤษ วิธีการพูด

ฐานที่ ๑ ประวัติปราสาท ปรางค์กู่กลา

ฐานที่ ๑ ประวัติปราสาท ปรางค์กู่
กลางอำเภอปรางค์กู่ มีหมู่บ้านชาวกูยเล็ก ๆ ที่ชัดเจนเอกลักษณ์ทั้งภาษาพูด เครื่องแต่งกาย และวิถีชีวิตรวมถึงวัฒนธรรมอันน่าศึกษา ศานสถานแห่งหนึ่งเคียงคู่พวกเขามาเนิ่นนาน เก่าแก่ก่อนการมาปักหลักฝังราก ยาวไกลไปจนถึงสมัยวัฒนธรรมขอมแผ่คลุมพื้นที่อีสานใต้ ตัวปรางค์ก่อด้วยแผ่นอิฐยกแผ่น คล้ายที่ปราสาทศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ตกทอดความเก่าแก่มานานับพันปี จากคติฮินดูสู่การนับถือพุทธที่สังเกตได้จากยอดขององค์ปรางค์ รายรอบด้วยบาราย-สระน้ำโบราณตามแผนผัง การสร้างอโรคยาศาลของขอมโบราณ ที่ยามเมื่อหน้าหนาวมาเยือน บารายแห่งนี้คือที่พักของนกอพยพมากมายอย่างเป็ดแดง เป็ดก่า เป็นอีกความรื่นรมย์บนแผ่นดินโบราณที่สัมผัสได้หากผ่านมาเยือนปราสาทปรางค์กู่ ทับหลังและลวดลายจำหลักแม้ลบเลือน หากทว่าทางกรมศิลปากรได้จัดสร้างทับหลังองค์จำลองไว้ที่ด้านหน้าปราสาท ให้คุณสามารถทอดตามองรูปรอยเชิงช่างอันวิจิตรในการแกะสลักแผ่นหินเพื่อสะท้อนคติความเชื่อทางศาสนาของผู้คในยุคโบราณนับพันปีก่อน กลางแผ่นหิน ลวดลาย และความขรึมขลังเงียบงันของโบราณสถานแห่งหนึ่ง หากใครสักคนได้มาเยือนปราสาทปรางค์กู่ ที่ตรงนั้นพร้อมที่จะยืนยันอย่างชัดเจนว่า แผ่นดินใดแผ่นดินหนึ่งล้วนมีประวัติศาสตร์เป็นของตนเองเก่าแก่และคงทนตราบเท่าที่ผู้คนตรงนั้นยังหวงแหนและพร้อมจะเก็บรักษามันไว้การเดินทาง ปราสาทปรางค์กู่สามารถเดินทางได้ 2 เส้นทาง คือ เส้นทางศรีสะเกษ-สุรินทร์ แยกซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2234 หรือเส้นทางศรีสะเกษ-ขุขันธ์ แยกขวาเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2167 ปรางค์กู่อยู่ห่างจากตัวอำเภอปรางค์กู่ ประมาณ 10 กิโลเมตร
ฐานที่ 2 พิพิธภัณฑ์ เครื่องใช้โบราณชาวกูย
ได้มีใช้ขึ้นมาตั้งแต่ สมัย กรุงศรีอยุธยา ซึ่งปัจจุบันได้มี การ เก็บรักษาไว้ ณ วัดบ้าน กู่ เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาได้เข้าชม เครื่องมือเครื่องใช้ได้มีหลายอย่าง ได้แก่ ดาบ ไม้พาย ไห หีบเก็บสมบัติ ตะกร้าที่สานจากไม้ไผ่ ไม้หาบ เขาควาย กระบวย ตะกร้าใส่เสื้อผ้า เตียงไม้โบราณ กระบอกเก็บเอกสาร ฆ้อง ระฆัง เครื่องมือ อุปกรณ์การทอผ้า และอื่นๆ
นอกจากเครื่องมือ จะบ่งบอกถึง วิถีความเป็นอยู่แล้ว มันก็ยังบอกถึงความเจริญทางวัฒนธรรม และที่สำคัญคือ ความเป็นปราชญ์ด้านภูมิปัญญา ของบรรรพบุรุษเรา ที่สามารถประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ มาเป็นสิ่งประกอบในการทำมาหากินของบรรพบุรุษเราในสมัยนั้น
ฐานที่ 3 การแต่งกาย ของชาวกูย
การแต่งกายของเผ่ากูยจะมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ซึ่งการแต่งกายของชายและหญิงจะไม่เหมือนกัน ผู้หญิง จะใส่เสื้อแก๊ป
ผ้าถุง และก็ สไบ ส่วนผู้ชายก็จะมีเสื้อแก๊ป แขน นุ่งสโร่ง สไบพาดไหล่ทั้ง 2 ข้าง และมีผ้าขาวม้าคาดเอว


ฐานที่ 4 อาหาร พื้นบ้าน
กือแหวกือตาม (แกงมันปู) เรียกเป็นภาษาไทยกลางว่า แกงมันปูเป็นอาหารพื้นบ้านที่
ชาวกูยนิยมและมีมาแต่ดั้งเดิม มีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้
1. ปู 2. พริกแห้ง 3. ข่า 4. ตะไคร้ 5. กระชาย 6. หอมแดง 7. กระเทียม 8. ยอดมะขามหรือมะขามเปียก 9.กบ 10. เกลือ / น้ำาปลา
10. ใบกะเพรา
กือแหวกือตาม ตามสูตรชาวกูยบ้านกู่ มีขั้นตอนวิธีทำ ดังนี้
1. หากะปูหรือ กือตามให้ได้ประมาณพอแกง แล้วเอากะปูล้างน้ำให้สะอาดแล้วแกะ
ส่วนที่เป็นขี้ออก เอาส่วนที่กินได้ใส่ครก ตาให้ละเอียด ตักออกจากครกใส่ภาชนะ เทน้ำสะอาดพอประมาณ กรองเอาแต่น้ำ
2. ขั้นตอนต่อไปเตรียมพริกแห้ง ข่า ตะไคร้ กระชาย หอม กระเทียม ให้เหมาะสมกับ น้ำกะปูที่กรองเอาไว้ แล้วเอาใส่ครกตำให้ละเอียด ปรุงใส่น้ำกะปูที่กรองไว้
3. ตั้งหม้อต้มน้ำกะปูที่ปรุงเครื่องแล้วพอน้ำเดือดใส่ยอดมะขามหรือมะขามเปียก หรือ จะใส่ผักดอกแคก็ได้ถ้ามี ใส่เกลือ หรือน้ำปลาและใบกะเพรา (ในอดีตไม่มีผงชูรส) ทิ้งไ ว้ให้หม้อแกงเดือด พอสุกชิมดูรสอาหารได้พอดีแล้วยก ลงจากเตาไฟ รับประทานได้
ความรู้สึกและความประทับใจ
ในการไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ ที่บ้านกู่ ครั้งนี้ ทำให้ ดิฉันได้เห็นถึงวัฒนธรรมของ ชาวบ้านหลายๆด้าน เช่น การแต่งกาย การพูดที่มีภาษาที่เป็น เอกลักษณ์ ประวัติความเป็นมาของปราสาทปรางค์กู่ ได้ร่วมกิจกรรมกับเพื่อนๆ อาหารพื้นบ้านที่แสนอร่อย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1 base, history, castles, prang Kuกลางอำเภอปรางค์กู่ มีหมู่บ้านชาวกูยเล็ก ๆ ที่ชัดเจนเอกลักษณ์ทั้งภาษาพูด เครื่องแต่งกาย และวิถีชีวิตรวมถึงวัฒนธรรมอันน่าศึกษา ศานสถานแห่งหนึ่งเคียงคู่พวกเขามาเนิ่นนาน เก่าแก่ก่อนการมาปักหลักฝังราก ยาวไกลไปจนถึงสมัยวัฒนธรรมขอมแผ่คลุมพื้นที่อีสานใต้ ตัวปรางค์ก่อด้วยแผ่นอิฐยกแผ่น คล้ายที่ปราสาทศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ตกทอดความเก่าแก่มานานับพันปี จากคติฮินดูสู่การนับถือพุทธที่สังเกตได้จากยอดขององค์ปรางค์ รายรอบด้วยบาราย-สระน้ำโบราณตามแผนผัง การสร้างอโรคยาศาลของขอมโบราณ ที่ยามเมื่อหน้าหนาวมาเยือน บารายแห่งนี้คือที่พักของนกอพยพมากมายอย่างเป็ดแดง เป็ดก่า เป็นอีกความรื่นรมย์บนแผ่นดินโบราณที่สัมผัสได้หากผ่านมาเยือนปราสาทปรางค์กู่ ทับหลังและลวดลายจำหลักแม้ลบเลือน หากทว่าทางกรมศิลปากรได้จัดสร้างทับหลังองค์จำลองไว้ที่ด้านหน้าปราสาท ให้คุณสามารถทอดตามองรูปรอยเชิงช่างอันวิจิตรในการแกะสลักแผ่นหินเพื่อสะท้อนคติความเชื่อทางศาสนาของผู้คในยุคโบราณนับพันปีก่อน กลางแผ่นหิน ลวดลาย และความขรึมขลังเงียบงันของโบราณสถานแห่งหนึ่ง หากใครสักคนได้มาเยือนปราสาทปรางค์กู่ ที่ตรงนั้นพร้อมที่จะยืนยันอย่างชัดเจนว่า แผ่นดินใดแผ่นดินหนึ่งล้วนมีประวัติศาสตร์เป็นของตนเองเก่าแก่และคงทนตราบเท่าที่ผู้คนตรงนั้นยังหวงแหนและพร้อมจะเก็บรักษามันไว้การเดินทาง ปราสาทปรางค์กู่สามารถเดินทางได้ 2 เส้นทาง คือ เส้นทางศรีสะเกษ-สุรินทร์ แยกซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2234 หรือเส้นทางศรีสะเกษ-ขุขันธ์ แยกขวาเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2167 ปรางค์กู่อยู่ห่างจากตัวอำเภอปรางค์กู่ ประมาณ 10 กิโลเมตร2. Base using the ancient kui Museum Have since. Ayutthaya Kingdom, which at present are kept at Wat Ku home so that people interested in education. There are many tools, examples include swords, treasure chest angled paddle weave baskets from bamboo. The wooden HAP Buffalo Horn ladle, antique wooden bed clothes basket barrel storage for documents, Gong, chimes, hand tools. Weaving equipment and more. นอกจากเครื่องมือ จะบ่งบอกถึง วิถีความเป็นอยู่แล้ว มันก็ยังบอกถึงความเจริญทางวัฒนธรรม และที่สำคัญคือ ความเป็นปราชญ์ด้านภูมิปัญญา ของบรรรพบุรุษเรา ที่สามารถประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ มาเป็นสิ่งประกอบในการทำมาหากินของบรรพบุรุษเราในสมัยนั้น ฐานที่ 3 การแต่งกาย ของชาวกูยการแต่งกายของเผ่ากูยจะมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ซึ่งการแต่งกายของชายและหญิงจะไม่เหมือนกัน ผู้หญิง จะใส่เสื้อแก๊ปผ้าถุง และก็ สไบ ส่วนผู้ชายก็จะมีเสื้อแก๊ป แขน นุ่งสโร่ง สไบพาดไหล่ทั้ง 2 ข้าง และมีผ้าขาวม้าคาดเอว ฐานที่ 4 อาหาร พื้นบ้านกือแหวกือตาม (แกงมันปู) เรียกเป็นภาษาไทยกลางว่า แกงมันปูเป็นอาหารพื้นบ้านที่ชาวกูยนิยมและมีมาแต่ดั้งเดิม มีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้ 1. ปู 2. พริกแห้ง 3. ข่า 4. ตะไคร้ 5. กระชาย 6. หอมแดง 7. กระเทียม 8. ยอดมะขามหรือมะขามเปียก 9.กบ 10. เกลือ / น้ำาปลา 10. ใบกะเพรา กือแหวกือตาม ตามสูตรชาวกูยบ้านกู่ มีขั้นตอนวิธีทำ ดังนี้ 1. หากะปูหรือ กือตามให้ได้ประมาณพอแกง แล้วเอากะปูล้างน้ำให้สะอาดแล้วแกะส่วนที่เป็นขี้ออก เอาส่วนที่กินได้ใส่ครก ตาให้ละเอียด ตักออกจากครกใส่ภาชนะ เทน้ำสะอาดพอประมาณ กรองเอาแต่น้ำ2. ขั้นตอนต่อไปเตรียมพริกแห้ง ข่า ตะไคร้ กระชาย หอม กระเทียม ให้เหมาะสมกับ น้ำกะปูที่กรองเอาไว้ แล้วเอาใส่ครกตำให้ละเอียด ปรุงใส่น้ำกะปูที่กรองไว้3. ตั้งหม้อต้มน้ำกะปูที่ปรุงเครื่องแล้วพอน้ำเดือดใส่ยอดมะขามหรือมะขามเปียก หรือ จะใส่ผักดอกแคก็ได้ถ้ามี ใส่เกลือ หรือน้ำปลาและใบกะเพรา (ในอดีตไม่มีผงชูรส) ทิ้งไ ว้ให้หม้อแกงเดือด พอสุกชิมดูรสอาหารได้พอดีแล้วยก ลงจากเตาไฟ รับประทานได้ ความรู้สึกและความประทับใจในการไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ ที่บ้านกู่ ครั้งนี้ ทำให้ ดิฉันได้เห็นถึงวัฒนธรรมของ ชาวบ้านหลายๆด้าน เช่น การแต่งกาย การพูดที่มีภาษาที่เป็น เอกลักษณ์ ประวัติความเป็นมาของปราสาทปรางค์กู่ ได้ร่วมกิจกรรมกับเพื่อนๆ อาหารพื้นบ้านที่แสนอร่อย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: