การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาในครั้งนี้เป็นวิจัยบรรยายเชิงปริมาณ (descrip การแปล - การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาในครั้งนี้เป็นวิจัยบรรยายเชิงปริมาณ (descrip อังกฤษ วิธีการพูด

การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาในครั้งนี

การวิเคราะห์ข้อมูล

การศึกษาในครั้งนี้เป็นวิจัยบรรยายเชิงปริมาณ (descriptive of duality research) เพื่อประเมินปัญหาการมองเห็นในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยทำการศึกษาในผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิง ซึ่งอาศัยอยู่ในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัด ขอนแก่น ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุ ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยการแสดงจำนวนและร้อยละ
ตอนที่ 2การประเมินปัญหาการมองเห็นของผู้สูงอายุ ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยการแสดงจำนวนและค่าร้อยละ
ตอนที่ 3ปัญหาหรืออาการอื่นๆเกี่ยวกับการมองเห็น ที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จัดกลุ่มปัญหาหรืออาการที่พบบ่อยซึ่งได้จากการสัมภาษณ์โดยการแสดงจำนวนและค่าร้อยละ
1.ข้อมูลส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาจำนวน 70 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีปัญหาการมองเห็น จำนวน 56คน หรือคิดเป็นร้อยละ80 และกลุ่มที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น จำนวน 14 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1.1 กลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็น จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 70 คน กลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็นเป็นเพศหญิงจำนวน 36 คน หรือคิดเป็นร้อยละ51.4 และเป็นเพศชาย จำนวน 20 คน หรือคิดเป็นร้อยละ28.6 อัตราส่วนหญิงต่อชาย 2:1 เมื่อแบ่งตามอายุ 60-69 ปี มีจำนวน 21 คน หรือคิดเป็นร้อยละ30 อายุ 70-79 ปี มีจำนวน 21 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 30 และอายุตั้งแต่ 80 ปี ขึ้นไปมีจำนวน 14 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ตามลำดับ ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ จำนวน 30 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 42.9 รองลงมา คือ เป็นม่าย จำนวน 24 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 34.3 และโสด จำนวน2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 ตามลำดับ
อาชีพของกลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็นพบว่าส่วนใหญ่ ไม่ได้ประกอบอาชีพจำนวน 28 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา คืออาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวน ปลูกผักสวนครัว จำนวน 25 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 35.7 อาชีพค้าขาย เช่นร้านขายของชำ ทำอาหารขายที่ตลาด จำนวน 2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 และอาชีพจักสาน เช่น ตะกร้า สุ่มไก่ จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ตามลำดับ
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา จำนวน 55 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 78.6 และระดับมัธยมศึกษา จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4
โรคประจำตัวของกลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า มีโรคประจำตัว จำนวน 32 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 45.7 และไม่มีโรคประจำตัว จำนวน 24 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 34.3 (ดังแสดงไว้ในตาราง ที่ 1)

1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น
จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 70 คน กลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็นเป็นเพศหญิงจำนวน 12 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 17.1 และเป็นเพศชาย จำนวน 2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9อัตราส่วนหญิงต่อชาย 6:1 เมื่อแบ่งตามอายุ 60-69 ปี มีจำนวน7 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 10 อายุ 70-79 ปี มีจำนวน 5 คน หรือคิดเป็นร้อยละ7.1 และอายุตั้งแต่ 80 ปี ขึ้นไปมีจำนวน2คน หรือคิดเป็นร้อยละ2.9ตามลำดับ สถานภาพสมรสคู่ จำนวน 6 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 8.6 เป็นม่าย จำนวน 7คน หรือคิดเป็นร้อยละ 10 และหย่าร้าง จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ตามลำดับ
อาชีพของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็นพบว่าส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพจำนวน 11 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 15.7 รองลงมา คืออาชีพเกษตรกรรม จำนวน 2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 และค้าขาย จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ตามลำดับ
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา จำนวน 13 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 18.6 และระดับมัธยมศึกษา จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4
โรคประจำตัวของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า มีโรคประจำตัว จำนวน 9 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 12.9 และไม่มีโรคประจำตัว จำนวน 5 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.1 (ดังแสดงไว้ในตาราง ที่ 1)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาในครั้งนี้เป็นวิจัยบรรยายเชิงปริมาณ (descriptive of duality research) เพื่อประเมินปัญหาการมองเห็นในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยทำการศึกษาในผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิง ซึ่งอาศัยอยู่ในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัด ขอนแก่น ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุ ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยการแสดงจำนวนและร้อยละตอนที่ 2การประเมินปัญหาการมองเห็นของผู้สูงอายุ ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยการแสดงจำนวนและค่าร้อยละตอนที่ 3ปัญหาหรืออาการอื่นๆเกี่ยวกับการมองเห็น ที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุ ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จัดกลุ่มปัญหาหรืออาการที่พบบ่อยซึ่งได้จากการสัมภาษณ์โดยการแสดงจำนวนและค่าร้อยละ1.ข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาจำนวน 70 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีปัญหาการมองเห็น จำนวน 56คน หรือคิดเป็นร้อยละ80 และกลุ่มที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น จำนวน 14 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้1.1 กลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็น จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 70 คน กลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็นเป็นเพศหญิงจำนวน 36 คน หรือคิดเป็นร้อยละ51.4 และเป็นเพศชาย จำนวน 20 คน หรือคิดเป็นร้อยละ28.6 อัตราส่วนหญิงต่อชาย 2:1 เมื่อแบ่งตามอายุ 60-69 ปี มีจำนวน 21 คน หรือคิดเป็นร้อยละ30 อายุ 70-79 ปี มีจำนวน 21 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 30 และอายุตั้งแต่ 80 ปี ขึ้นไปมีจำนวน 14 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ตามลำดับ ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ จำนวน 30 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 42.9 รองลงมา คือ เป็นม่าย จำนวน 24 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 34.3 และโสด จำนวน2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 ตามลำดับ อาชีพของกลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็นพบว่าส่วนใหญ่ ไม่ได้ประกอบอาชีพจำนวน 28 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา คืออาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวน ปลูกผักสวนครัว จำนวน 25 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 35.7 อาชีพค้าขาย เช่นร้านขายของชำ ทำอาหารขายที่ตลาด จำนวน 2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 และอาชีพจักสาน เช่น ตะกร้า สุ่มไก่ จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ตามลำดับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา จำนวน 55 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 78.6 และระดับมัธยมศึกษา จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 โรคประจำตัวของกลุ่มตัวอย่างที่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า มีโรคประจำตัว จำนวน 32 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 45.7 และไม่มีโรคประจำตัว จำนวน 24 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 34.3 (ดังแสดงไว้ในตาราง ที่ 1)1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 70 คน กลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็นเป็นเพศหญิงจำนวน 12 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 17.1 และเป็นเพศชาย จำนวน 2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9อัตราส่วนหญิงต่อชาย 6:1 เมื่อแบ่งตามอายุ 60-69 ปี มีจำนวน7 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 10 อายุ 70-79 ปี มีจำนวน 5 คน หรือคิดเป็นร้อยละ7.1 และอายุตั้งแต่ 80 ปี ขึ้นไปมีจำนวน2คน หรือคิดเป็นร้อยละ2.9ตามลำดับ สถานภาพสมรสคู่ จำนวน 6 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 8.6 เป็นม่าย จำนวน 7คน หรือคิดเป็นร้อยละ 10 และหย่าร้าง จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ตามลำดับอาชีพของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็นพบว่าส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพจำนวน 11 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 15.7 รองลงมา คืออาชีพเกษตรกรรม จำนวน 2 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 และค้าขาย จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4 ตามลำดับ
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษา จำนวน 13 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 18.6 และระดับมัธยมศึกษา จำนวน 1 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.4
โรคประจำตัวของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีปัญหาการมองเห็น พบว่า มีโรคประจำตัว จำนวน 9 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 12.9 และไม่มีโรคประจำตัว จำนวน 5 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 7.1 (ดังแสดงไว้ในตาราง ที่ 1)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Data analysis

.This study is a descriptive quantitative research (descriptive of duality Research) to assess vision problems in the elderly living in the community. The study of those aged 60 years, both male and female.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: