Music naphatMusic instrumental music naphat means composed of kiriyaakan The mood of the character song is a song with a melody and naphat rhythm is defined as a plan including the opportunity to use it. In General, there will be no music, naphat lyrics. Use only the melody is played that contains lyrics, as well as songs which are found, including phlengkraonok visions, etc. The song has the most dance naphat defined only in each song, and the song the same songs naphat. The use of drama and dance, Thailand, THA is a giant monkey, she will inevitably vary.The songs are simple and naphat naphat naphat high.1. Naphat plain Using instrumental composed of demeanor of a character is not mandatory, the length of songs to naphat stopped end or change the music, people seem to want to make music and dance, of a major character. This type of music is very applicable to naphat display folk opera or musicals, such as music, always music man. Music chiefs Music advocate2. Advanced naphat, also known as "the music teacher" is considered as a sacred music. Using instrumental composed manner. The mood of the characters who are the gods of music, higher rank, or mandatory naphat length. Who will have to dance the rhythm of the song is the melody and stretch the backbone to cut it short or long as you like, no. For the most part used to display characters and mask used in the ceremony to pray to the teacher. Music and dance teachers, such as cover songs, as well as sleep phlengkrabong. Music as well as music bathotkuni music to sleep sin the Lord music library with a different event, especially fungi, Lord, just a different event, music, the highest among the leading music naphat naphat all.Functional breakdown of songs naphat be required to show a character's breakdown. 7 characteristics are.๑. เพลงหน้าพาทย์ประกอบกิริยาไปมา ได้แก่ เพลงเสมอใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะใกล้ ไปช้าๆ ไม่ รีบร้อน เพลงเชิดใช้ประกอบกิริยาการเดินทางระยะไกลไปมาอย่างรีบร้อน เพลงเสมอนอกจากเพลงเสมอธรรมดาแล้ว ยังมีเพลงเสมอตามลักษณะของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครและตามสัญชาติของตัวละครอีก เช่น เสมอลาว เสมอมอญ เสมอพม่า เสมอมาร เสมอเถร เป็นต้น เสมอลาว เสมอมอญ ข้อสังเกตให้ดูจากเครื่องแต่งกายของผู้แสดง เพลงฉิ่งใช้ประกอบกิริยาอาการเคลื่อนไหว นวยนาดกรีดกราย เล่นสนุกสนาน ชมสวน ชมป่า เก็บดอกไม้หรือเที่ยววนเวียนอยู่ในสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เพลงบาทสกุณีใช้ประกอบการเคลื่อนไหวไปมามีพิธีรีตรอง ใช้เฉพาะกับตัวละครตัวพระ-นาง ที่มีศักดิ์ เพลงพระยาเดินใช้ประกอบกิริยาไปมาที่ไม่รีบร้อน สำหรับผู้สูงศักดิ์เป็นหมู่พร้อมด้วยข้าราชบริพาร เพลงรุกร้นใช้ประกอบการแสดงไปอย่างมีระเบียบ เพลงเสมอข้ามสมุทร ใช้ประกอบการนำกองทัพเดินข้ามสมุทรเท่านั้น ใช้เฉพาะตัวพระราม เพลงเหาะใช้ประกอบกิริยาไปมาทางอากาศของเทวดา นางฟ้า (ในพิธีไหว้ครูโขน-ละคร เป็นการอัญเชิญพระศวร) เพลงโคมเวียนใช้ประกอบกิริยาการเดินทางในอากาศของเทวดาและนางฟ้าเพลงกลมใช้ประกอบการไป มาของตัวละครที่สูงศักดิ์ เช่น พระอินทร์ เจ้าเงาะ ในเรื่อง สังข์ทอง (ในพิธีไหว้ครูดขน-ละคร เป็นการอัญเชิญพระวิษณุกรรม) เพลงแผละใช้ประกอบกิริยาการไปมาของสัตว์มีปีกที่บินทางอากาศ เช่น นก ครุฑ เป็นต้น เพลงชุบใช้ประกอบกิริยาไปมาของตัวละครศักดิ์ต่ำ เช่น นางกำนัล เพลงโล้ใช้ประกอบกิริยาไปมาทางนำ๒. เพลงหน้าพาทย์ประกอบการยกพล ยกทัพได้แก่ เพลงกราวนอกสำหรับการยกทัพของมนุษย์ ลิง เพลงกราวใน สำหรับการยกทัพของยักษ์ เพลงกราวกลางสำหรับการยกทัพของมนุษย์๓.เพลงหน้าพาทย์ประกอบความสนุกสนานร่าเริงได้แก่ เพลงกราวรำสำหรับกิริยาเยาะเย้ยเพลงสีนวล สำหรับแสดงความร่างเริงเบิกบานใจสำหรับสตรี เพลงช้า เพลงเร็ว สำหรับแสดงความเบิกบานใจ หรือการไปมาอย่างมีระเบียบและสวยงาม เพลงฉุยฉาย แม่ศรี สำหรับแสดงความภูมิใจในความงาม๔. เพลงหน้าพาทย์ประกอบการแสดงอิทธิฤทธิ์หรือปฏิหารย์ได้แก่ เพลงตระนิมิตร สำหรับการแปลงกาย ชุบคนตายให้ฟื้น หรือบันดาลให้เกิดสิ่งต่างๆ เพลงตระสันนิบาต สำหรับการประชุมเพื่อกระทำพิธีสำคัญต่างๆ เพลงชำนาญ สำหรับการนิมิตหรือประสิทธิ์ประสาท เสกคาถาเป่าต่างๆ แปลงตัว สำหรับตัวพระและตัวยักษ์เท่านั้น เพลงตระบองกันสำหรับการนิมิตหรือประสิทธิ์ประสาทและใช้แปลงตัวที่เป็นพญายักษ์และนางที่เป็นยักษ์ เพลงคุกพาทย์ สำหรับการแสดงอิทธิฤทธิ์ของผู้มีฤทธิ์ หรือเหตุการณ์อันน่าสะพรึงกลัว(ในพิธีไหว้ครูโขน-ละคร เป็นการอัญเชิญครูยักษ์) เพลงรัวใช้ทั่วไปในการสำแดงเดช หรือแสดงปรากฎการณ์โดยฉับพลัน๕. เพลงหน้าพาทย์ประกอบการต่อสู้และและติดตาม ได้แก่ เพลงเชิดนอก สำหรับการต่อสู้หรือการไล่ติดตามของตัวละครที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่นหนุมานไล่จับนางสุพรรณมัจฉาหนุมานไล่จับนางเบญกาย
เพลงเชิดฉานสำหรับตัวละครที่เป็นมนุษย์ไล่ตามสัตว์ เช่น พระรามตามกวาง ย่าหรันตามนกยูง
เพลงเชิดกลองสำหรับการต่อสู้กันโดยทั่วไป เพลงเชิดฉิ่งใช้ประกอบการรำก่อนที่จะใช้อาวุธสำคัญหรือก่อนกระทำกิจสำคัญ
๖.เพลงหน้าพาทย์ประกอบการแสดงอารมณ์ทั่วไป ได้แก่ เพลงกล่อม สำหรับการขับกล่อมเพื่อการนอนหลับ เพลงโลมสำหรับการเข้าพระเข้านางการเล้าโลมด้วยความรัก เพลงโอดสำหรับการร้องไห้
เพลงทยอยสำหรับอารมณ์เสียใจ เศร้าใจขณะที่เคลื่อนที่ไปด้วย เช่น เดินพลางร้องไห้พลาง
การแปล กรุณารอสักครู่..
