Sukhothai Historical ParkSukhothai historical park covers the area around the center of the Sukhothai Kingdom of Sukhothai, which was located at the Northern. The lower part of the country of Thailand in the 18th century Sukhothai map, 18-19, there is a rectangular style. Is about 2 kilometres in length, wide, approximately 1.6 km north to write a long South West side length 2000 m, 1600 m, three-layer wall piled the soil by digging up the soil reclamation as wall removal, and the ground is dug up the suburbs living and a wall of water. There are two floors, walls, doors, door 4 North city is called "the door of the Royal Court". The South side is called the "gate" Namo in the East side is called the "broken" walls side door in the West called "the gates" outside the city walls in the store is a radius of 5 km around the property for about 70 built in Buddhism and Brahmanism. Inside the Palace and temples to trace the other 26 of the largest temple property is WAT mahathat. This National Park has been maintained by the fine arts with the help of UNESCO with several thousand visitors per year who can walk or bicycle tour. Sukhothai Historical Park is declared from UNESCO of world heritage sites. In conjunction with the kamphaeng Phet Historical Park and SI satchanalai, under the name "Sukhothai and associated historic towns in the history of the city" (Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns).Historical importance.บริเวณที่ตั้งของจังหวัดสุโขทัยเป็นบริเวณที่ราบตอนล่างของภาคเหนือ ได้ค้นพบหลักฐานการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ตั้งแต่สมัย ก่อนประวัติศาสตร์แล้ว ตามหลักฐานทางโบราณคดีที่พบใน เขตอำเภอศรีนคร อำเภอบ้านด่านลานหอย และอำเภอคีรีมาศ ซึ่งแสดง ถึงหลักฐานทางชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ชุมชนเหล่านี้คงอยู่ต่อเนื่องกันและตั้งเป็น บ้านเมืองขึ้นในเวลาต่อมาจนกระทั่ง ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 (พ.ศ. 1100 เป็นต้นมา) ชุมชนบริเวณนี้ได้มีการ ติดต่อกับดินแดนอื่นแถบบริเวณภาคกลางและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีพื้นฐานวัฒนธรรมแบบทวารวดี โดยได้มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่วัดชมชื่น อำเภอศรีสัชนาลัย หลักฐานทางศิลปกรรมในเขตเมืองเก่าสุโขทัยที่ศาลตาผาแดง และปรางค์เขาปู่จาในเขตอำเภอคีรีมาศ เป็น หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาของวัฒนธรรมเขมรโบราณในราวพุทธศตวรรษที่ 18 (พ.ศ.1700 เป็นต้นมา) และน่าจะเป็น การพัฒนาการตั้งถิ่นฐานเป็นเมืองในวัฒนธรรมเขมร ในบริเวณที่ราบเชิงเขาหลวงเป็นครั้งแรก จนราวกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ปรากฏเรื่องราวการตั้งตนเป็นอิสระ เพื่อ ปกครองสุโขทัยของกลุ่มชน ซึ่งต่อมาเป็นบรรพชนของคนไทยในปัจจุบัน
การแปล กรุณารอสักครู่..