คุณบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ ผู้อำนวยการสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ การแปล - คุณบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ ผู้อำนวยการสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ อังกฤษ วิธีการพูด

คุณบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ ผู้อำนวยการส

คุณบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ ผู้อำนวยการสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มุมมองเชิงโอกาสภายใต้ข้อตกลงฉบับนี้ว่า “ประการแรกโมเดลของ Climate Action Tracker ชี้ให้เห็นชัดว่า โดยวิธีที่แต่ละประเทศเสนอมานั้น มันไม่พอ ตามตัวเลขของนักวิทยาศาสตร์ Carbon Budget หรือ ปริมาณคาร์บอนที่เรายังปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศได้ โดยที่โลกยังคงไม่ร้อนขึ้นเกิน 2 องศา ที่เหลืออยู่ของโลกมีไม่มาก แต่เป้าหมายที่แต่ละประเทศกำหนดกลับมาจุดยืนของตนเอง เมื่อรวมกันวันนี้จึงไม่พอ ดังนั้นกติกาของข้อตกลงปารีสก็เลยสร้างระบบในการตรวจสอบทุกๆ 5 ปี เพื่อดูว่าที่แต่ละประเทศเสนอมานั้นพอหรือไม่ ดังนั้น ณ วันนี้มีคนเรียกความตกลงปารีสว่าเป็นระบบแบบลูกผสม คือ Bottom up จากข้างล่างขึ้นบน แต่มีระบบ Top Down ที่จะคอยตรวจดูอีกทีว่า สิ่งที่คุณเสนอ ตอบโจทย์เพียงพอหรือไม่ในเรื่องประสิทธิภาพ

ประการที่สอง เรื่องหากดูว่าการประชุมที่ปารีสประสบความสำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับมุมมองว่าอะไรคือความสำเร็จ เช่น ถ้าเรามองว่า การทำให้เกิดความตกลงปารีสคือ ความสำเร็จ อันนี้ก็ถือว่าใช่ แต่ถามว่าแล้วโลกอยู่รอดปลอดภัยเสี่ยงน้อยลงไหม คำตอบคือ ไม่ใช่ เรายังเสี่ยงอยู่ คนที่ใช้เกณฑ์นี้ไปวัดความสำเร็จของความตกลงปารีสก็บอกว่า ยังไม่สำเร็จ ดังนั้น ข้อวิจารณ์ความตกลงปารีสก็ขึ้นอยู่ว่า เราใช้เกณฑ์อะไรในการที่จะไปจับว่า เป็นความสำเร็จของการเจรจาครั้งนี้”

สำรวจการปล่อยก๊าซและมาตรการรับมือของไทย

“ข้อมูลล่าสุดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในช่วง 12 ปีที่ผ่านมา แนวโน้มการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทยลดลง ร้อยละ 4 ต่อปี”

เมื่อไม่นานมานี้องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกได้รายงานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทยระหว่างปี พ.ศ. 2543-2555 (ค.ศ. 2000-2012) พบว่าก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากแหล่งต่างๆ รวมถึงการดูดกลับ (Removal) เฉลี่ยอยู่ที่ระหว่าง 169.80-227.73 เมกกะตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2-eq.) แต่ถ้าไม่นับรวมปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ถูกดูดซับโดยป่าไม้และการใช้ประโยชน์ที่ดินรูปแบบต่างๆ แล้วละก็ การปล่อยก๊าซของไทยจะสูงถึง 257.63-350.68 เมกกะตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2-eq) และตลอดระยะเวลา 12 ปี ภาคพลังงานยังปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด รองลงมาเป็น ภาคเกษตร ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Agriculture Forestry and Other Land Use:AFOLU)

ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ (Industrial Process and Product Use: IPPU) และภาคการจัดการของเสีย (Waste) หากดูจากข้อมูลย้อนหลัง 12 ปี ปริมาณรวมของก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยปล่อยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยร้อยละ 5.53 ต่อปี ซึ่งเป็นผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามเมื่อนำปริมาณการดูดกลับจากภาคป่าไม้มาหักลบจะทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงถึงร้อยละ 4 ต่อปี จะเห็นได้ว่าภาคป่าไม้มีความสำคัญอย่างมากในการเพิ่มศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ

(เอาข้อมูลในตารางไปทำ เป็น Infographic ค่ะ)

ที่ผ่านมาตั้งแต่ที่ประเทศไทยให้สัตยาบันภายในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2539 จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้ดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาอย่างเนื่อง “ภายใต้การดำเนินงานในระยะแรก คือ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Actions NAMAs) ก่อนปี พ.ศ. 2563 คุณประเสริฐ ศิรินภาพร ผู้อำนวยการสำนักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กล่าวว่า เราตั้งเป้าลดให้ได้ร้อยละ 7-20 โดยอาศัย 4 มาตรการ คือ การพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือก อันที่สอง ปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ภาคพลังงาน ภาคขนส่ง และภาคการผลิตไฟฟ้า

อันที่สาม การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในภาคขนส่ง และอันที่สี่ ก็คือระบบการขนส่งที่ยั่งยืน มาตรการพวกนี้เรานำมาจากแผนที่มีอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นแผนพลังงาน แผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนพลังงานทางเลือก รวมทั้งแผนขนส่งที่ยั่งยืนด้วย ถือเป็นการดำเนินงานตามปกติที่เราจะต้องดำเนินการตามแผนต่างๆ อยู่แล้ว” ทั้งนี้คุณประเสริฐยังเน้นย้ำอีกว่า “การลดก๊าซเรือนกระจกให้ได้ร้อยละ 7 ของการปล่อยในปี พ.ศ. 2548 จะเป็นการดำเนินงานโดยใช้งบประมาณภายในประเทศ ส่วนช่องว่างอีกร้อยละ 13(เพื่อให้ได้ถึงเป้าร้อยละ 20) นั้น เราสร้างเงื่อนไขไว้ว่า ควรจะต้องมีการสนับสนุนจากต่างประเทศ ซึ่งก็อาจจะอยู่ในรูปแบบของการถ่ายทอดเทคโนโลยี การเงิน และการเสริมสร้างศักยภาพก็ได้”




0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
You rot in accordance with economics, banthoon The Director of the Institute for the State fair to the development of society and the environment, view opportunities under this agreement as the "Climate Action Tracker model first point obviously by the way in which individual countries offer, it is not enough, as the numbers of scientists or the amount of Carbon Budget Casa.Before the battle, we are also releasing into the atmosphere by a world that still does not heat up to a maximum of 2 degrees, the remaining of the world, there is not much, but the goal of each country determines its own position back. When combined, so it is not enough today. Therefore, the rules of the Paris agreements had created a system to check every five years to see whether individual countries offer enough or not. Therefore, as of today, there are people called the Paris agreement that it is a hybrid system is the Bottom up from below on the Top Down system, but will check again whether what you offer. Meet efficiency enough?ประการที่สอง เรื่องหากดูว่าการประชุมที่ปารีสประสบความสำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับมุมมองว่าอะไรคือความสำเร็จ เช่น ถ้าเรามองว่า การทำให้เกิดความตกลงปารีสคือ ความสำเร็จ อันนี้ก็ถือว่าใช่ แต่ถามว่าแล้วโลกอยู่รอดปลอดภัยเสี่ยงน้อยลงไหม คำตอบคือ ไม่ใช่ เรายังเสี่ยงอยู่ คนที่ใช้เกณฑ์นี้ไปวัดความสำเร็จของความตกลงปารีสก็บอกว่า ยังไม่สำเร็จ ดังนั้น ข้อวิจารณ์ความตกลงปารีสก็ขึ้นอยู่ว่า เราใช้เกณฑ์อะไรในการที่จะไปจับว่า เป็นความสำเร็จของการเจรจาครั้งนี้”สำรวจการปล่อยก๊าซและมาตรการรับมือของไทย “ข้อมูลล่าสุดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในช่วง 12 ปีที่ผ่านมา แนวโน้มการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทยลดลง ร้อยละ 4 ต่อปี”เมื่อไม่นานมานี้องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกได้รายงานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทยระหว่างปี พ.ศ. 2543-2555 (ค.ศ. 2000-2012) พบว่าก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากแหล่งต่างๆ รวมถึงการดูดกลับ (Removal) เฉลี่ยอยู่ที่ระหว่าง 169.80-227.73 เมกกะตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2-eq.) แต่ถ้าไม่นับรวมปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ถูกดูดซับโดยป่าไม้และการใช้ประโยชน์ที่ดินรูปแบบต่างๆ แล้วละก็ การปล่อยก๊าซของไทยจะสูงถึง 257.63-350.68 เมกกะตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2-eq) และตลอดระยะเวลา 12 ปี ภาคพลังงานยังปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด รองลงมาเป็น ภาคเกษตร ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Agriculture Forestry and Other Land Use:AFOLU)
ภาคกระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ (Industrial Process and Product Use: IPPU) และภาคการจัดการของเสีย (Waste) หากดูจากข้อมูลย้อนหลัง 12 ปี ปริมาณรวมของก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยปล่อยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยร้อยละ 5.53 ต่อปี ซึ่งเป็นผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามเมื่อนำปริมาณการดูดกลับจากภาคป่าไม้มาหักลบจะทำให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกลดลงถึงร้อยละ 4 ต่อปี จะเห็นได้ว่าภาคป่าไม้มีความสำคัญอย่างมากในการเพิ่มศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ

(เอาข้อมูลในตารางไปทำ เป็น Infographic ค่ะ)

ที่ผ่านมาตั้งแต่ที่ประเทศไทยให้สัตยาบันภายในกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2539 จนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยได้ดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาอย่างเนื่อง “ภายใต้การดำเนินงานในระยะแรก คือ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Actions NAMAs) ก่อนปี พ.ศ. 2563 คุณประเสริฐ ศิรินภาพร ผู้อำนวยการสำนักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กล่าวว่า เราตั้งเป้าลดให้ได้ร้อยละ 7-20 โดยอาศัย 4 มาตรการ คือ การพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือก อันที่สอง ปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ภาคพลังงาน ภาคขนส่ง และภาคการผลิตไฟฟ้า

อันที่สาม การใช้เชื้อเพลิงชีวภาพในภาคขนส่ง และอันที่สี่ ก็คือระบบการขนส่งที่ยั่งยืน มาตรการพวกนี้เรานำมาจากแผนที่มีอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นแผนพลังงาน แผนอนุรักษ์พลังงาน และแผนพลังงานทางเลือก รวมทั้งแผนขนส่งที่ยั่งยืนด้วย ถือเป็นการดำเนินงานตามปกติที่เราจะต้องดำเนินการตามแผนต่างๆ อยู่แล้ว” ทั้งนี้คุณประเสริฐยังเน้นย้ำอีกว่า “การลดก๊าซเรือนกระจกให้ได้ร้อยละ 7 ของการปล่อยในปี พ.ศ. 2548 จะเป็นการดำเนินงานโดยใช้งบประมาณภายในประเทศ ส่วนช่องว่างอีกร้อยละ 13(เพื่อให้ได้ถึงเป้าร้อยละ 20) นั้น เราสร้างเงื่อนไขไว้ว่า ควรจะต้องมีการสนับสนุนจากต่างประเทศ ซึ่งก็อาจจะอยู่ในรูปแบบของการถ่ายทอดเทคโนโลยี การเงิน และการเสริมสร้างศักยภาพก็ได้”




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
You Banthoon Economics Sirote Director of Governance for Social Development and the Environment. A perspective that opportunities under this agreement. "The first model of the Climate Action Tracker indicated clearly. By the way, it's not enough, each country presented by a number of scientists Carbon Budget or the amount of carbon we release into the atmosphere. The world still does not heat up beyond two degrees the rest of the world is no more. The goal is for each country to determine its own position. When combined, these days it's not enough. So the rules of the agreement in Paris, so he created a system for monitoring every five years to see whether the country offered them enough? So as of today, has called for agreement in Paris that a hybrid is Bottom up from below. the system is based on the top Down will check that again. What you offer Provide adequate performance in the second. If I see that the Paris conference a success or not. Based on the view that it is a success, if we look at the causes of the Paris agreement is achieved, this would be yes. I asked if I survive the less risk you answer is no, we are still vulnerable. The criteria used to measure the success of the Paris agreement, saying that it was not successful, so the criticism was based on the Paris Agreement. What criteria are used to going to catch it. The success of the negotiation was " exploring emissions and countermeasure of Thailand ," the latest volume of greenhouse gas emissions in the last 12 years, the trend of greenhouse gas emissions in Thailand fell by 4 percent per year. " not so long ago, the organization managing the greenhouse gas emission data reported in Thailand during bE 2543-2555 (AD 2000-2012) found that greenhouse gas emissions from various sources. The reabsorption (Removal) averaged between. 169.80 to 227.73 Megatons of carbon dioxide equivalent (MtCO2-eq.) But if you do not count the amount of greenhouse gases absorbed by forests and land use forms, then the emission of Thailand to reach. 257.63 to 350.68 Megatons of carbon dioxide equivalent (MtCO2-eq) and throughout the 12 years the energy sector to greenhouse gas emissions the most, followed by agriculture, forestry and land use (Agriculture Forestry and Other Land Use: AFOLU) sector, process industry. and the use of products (Industrial Process and product use: IPPU) and the waste management (waste) if you look at data from the past 12 years, the total volume of greenhouse gas emissions into the atmosphere, increasing every year. The emissions increased by an average 5.53 percent per year, which is a result of economic growth in recent years. However, when the suction from the forestry sector is offset to the amount of greenhouse gases fell by 4 percent per year, it can be seen that the forestry sector is extremely important to increase the potential for reducing greenhouse gases. of the country (the data in the table to make it a Infographic) have passed since the country ratified the UN framework Convention on climate change in 2539 to the present. Thailand has taken to reduce greenhouse gas emissions as well. "Under the first phase is to reduce greenhouse gas emissions, the country's (Nationally Appropriate Mitigation Actions NAMAs) before year 2563 Prasert Siri Napaporn director of the Office of Change Management. climate we set a target to reduce by 7-20 percent four measures is to develop renewable energy sources. The second, alternative energy or energy efficiency improvements in industry, energy sector, transport sector and the electricity sector , in the third. The use of biofuels in the transport sector, and the fourth is a sustainable transport system. These measures are taken from the existing map. Whether it's energy plan Energy Conservation Plan Traditional and Alternative Energy Including sustainable transport plan as well. Considered to be operating normally, we have to implement the plans already, "said Prasert also emphasized that. "Reducing greenhouse gas emissions to 7 percent of emissions in the year 2548 will be operated by local budget. The gap percent 13 (to achieve the target of 20 percent), we create the conditions that. Should be supported from abroad. It may be in the form of technology transfer, finance and capacity building also. "




















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
You bunyarint silakaew, director of the Institute for governance for social development and environment. To chance under the perspectives of this agreement. "Firstly, models of Climate Action Tracker clearly indicates that, by the way that each country is proposed. It's not enough, according to the numbers of scientists Carbon Budget or carbon, we also released into the atmosphere. The world still does not heat up more than 2 degrees. The rest of the world is not much. But the goal that each country set back the standpoint of themselves. When combined, today is not enough. So the rules of agreement Paris made a system to monitor every 5 years. To see that each country is proposed that enough or not. So today people call the Paris that is a hybrid system is Bottom up from the bottom up. But Top system Down to check that what you offer. Answer enough in efficiency.Secondly, if you look at the meeting in Paris succeed or not. Based on the view that what is success, as if we consider creating agreement Paris is a success, this is right. But asked the world to survive less risk? The answer is no, we also run the risk. People who use this criterion to measure the success of the Paris said, still fail, so the criticism the Paris depends. We use what criteria in order to catch. As the success of the negotiations. "Explore the countermeasure of gas discharge"The latest information of greenhouse gas emissions in the 12 years ago. Trends in emissions decreased from 4 per year. "Recently, greenhouse gas management organization report information to the emission of greenhouse gas emissions in the year 2543-2555 (AD). 2000-2012) found that greenhouse gases from various sources, including the sucked back (Removal) was between 169.80-227.73 Mecca tons of carbon dioxide equivalent. (MtCO2-eq.) but excluding greenhouse gases adsorbed by forestry and land use various forms, then the emissions of up 257.63-350.68 Mecca tons carbon dioxide recycle
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: