บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช การแปล - บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช อังกฤษ วิธีการพูด

บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม ประวัต

บทความเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรม
 ประวัติความเป็นมาของศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม




                   สืบเนื่องจาก พระครูวิมลโสมนันท์ เจ้าอาวาสวัดท่าโสม มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมให้เข้มแข็งให้คนในหมู่บ้านและตำบลอยู่เย็นเป็นสุขอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บนพื้นฐานคุณธรรม พัฒนาสังคมและชุมชน  ให้มีสันติสุขอย่างยั่งยืน รักษาสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น คนในหมู่บ้านมีความสามัคคี เอื้ออาทรต่อกันแบบญาติพี่น้อง รวมถึงประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทย จึงได้จัดทำแนวคิดที่จะส่งเสริมการเรียนรู้คู่คุณธรรมส่งเสริมทำนุบำรุงรักษาและรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยทุกด้าน รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทยให้มีการค้นคว้า วิจัย ฟื้นฟูและพัฒนา พร้อมทั้งต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น  เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม โดยในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้ดำเนินการ “ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน” ตามแนวทางของกระทรวงวัฒนธรรม และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตำบลท่าโสม” ที่เน้นการดำเนินงานโดยองค์กรต่างๆ และชุมชนภายในท้องถิ่น




                   ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๕๕ ได้จัดตั้งเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม”ตามแนวทาง ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสที่มีพระชนมายุ ๘๔ พรรษา และให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น ที่เกิดจากการบูรณาการของหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และองค์การบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภายในพื้นที่ตำบลท่าโสม มีสถานที่สำคัญ ประกอบด้วย อาคารศาลา  




                   ทรงไทยอายุ ๑๕๐ ปี โบสถ์ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหยกขาวและพระพุทธรูปไม้ ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง ของจังหวัดตราด รวมถึงการจัดรูปแบบพิพิธภัณฑ์ที่แสดงวัตถุสิ่งของตามวิถีชีวิตของชาวท่าโสม เช่น การจัดแสดงเครื่องมือการทำการเกษตรสมัยโบราณ เครื่องลายคราม เครื่องเบญจรงค์ เครื่องใช้ทองเหลือง เครื่องปั้นดินเผา เครื่องจักสาน เครื่องเงิน เศียรครูต่างๆ  และข้อมูลมรดกภูมิปัญญาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวท่าโสม เช่น การแปรรูปอาหาร การแสดงพื้นบ้าน ดนตรีไทย ตำรายา พืชพื้นเมืองที่หายาก ว่าวพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ ได้แก่ ว่าวดุ๊ยดุ่ย เป็นต้น




                   ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพในภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก ประจำปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะเปิดศูนย์เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ให้แก่ผู้ที่สนใจและประชาชนทั่วไป  ให้เข้ามาศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมภายในพื้นที่และได้รับการอบรม
ณ จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม - ๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช ร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพอีก ๓ แห่ง ได้แก่ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดพระธาตุดอยสะเก็ด อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่และศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์เมืองโพนพิสัย อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย




                   นอกจากนี้ยังมีการเปิดพื้นที่อำเภอท่าโสม และพื้นที่เกาะช้าง ที่มีประวัติศาสตร์สืบเนื่องกัน มาตั้งแต่อดีต โดยการวางแนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ ที่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน  ในชุมชน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ผู้นําชุมชนในการสนับสนุน ผู้บริหารศูนย์และคณะกรรมการวางแนวทางในการพัฒนาตลอดเวลา ผ่านทุนทางวัฒนธรรม ด้านวิถีชีวิต ภูมิปัญญาต่างๆ ที่หลากหลาย ทุนทางสังคม ด้านคน สิ่งแวดล้อม ให้ก่อให้เกิดความยั่งยืนของประชาชนชาวท่าโสม โดยเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของชาวจังหวัดตราดต่อไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Articles about art, culture History of the cultural center at Temple-ginseng สืบเนื่องจาก พระครูวิมลโสมนันท์ เจ้าอาวาสวัดท่าโสม มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างสังคมให้เข้มแข็งให้คนในหมู่บ้านและตำบลอยู่เย็นเป็นสุขอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บนพื้นฐานคุณธรรม พัฒนาสังคมและชุมชน ให้มีสันติสุขอย่างยั่งยืน รักษาสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น คนในหมู่บ้านมีความสามัคคี เอื้ออาทรต่อกันแบบญาติพี่น้อง รวมถึงประชาชนในพื้นที่ได้เล็งเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทย จึงได้จัดทำแนวคิดที่จะส่งเสริมการเรียนรู้คู่คุณธรรมส่งเสริมทำนุบำรุงรักษาและรักษาศิลปวัฒนธรรมไทยทุกด้าน รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทยให้มีการค้นคว้า วิจัย ฟื้นฟูและพัฒนา พร้อมทั้งต่อยอดแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม โดยในปี พ.ศ.๒๕๔๘ ได้ดำเนินการ “ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน” ตามแนวทางของกระทรวงวัฒนธรรม และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตำบลท่าโสม” ที่เน้นการดำเนินงานโดยองค์กรต่างๆ และชุมชนภายในท้องถิ่น In 2005 established a 2555 (2012) "Cultural Center at Temple, ginseng," according to the guidelines of the cultural promotion Department to honor his Majesty on that occasion, he was 84 and to learn the cultural heritage aspects of a local cultural wisdom arising from the integration of the various departments, whether it is a private sector. Community Development Administration and special area for sustainable tourism area in the soma district. There is a place that contains important. Sala building 150 years of age, Thailand songphol Church White Jade Buddha and Buddha statues, wood, which is the dual of the province, including formatting object as Museum shows what your way of life, such as ginseng, posture, show the ancient farming benjarong porcelain. Brass utensils. Pottery Wicker Silverware. The head teacher of wisdom and heritage aspects related to the way of life, such as food processing, ginseng, posture, show folk. Thailand music textbook medicine Rare native plants. The unique folk kite areas include kite dui dui, etc. ในปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดท่าโสม ได้รับการคัดเลือก ให้เป็นศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพในภูมิภาคภาคกลางและภาคตะวันออก ประจำปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะเปิดศูนย์เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ให้แก่ผู้ที่สนใจและประชาชนทั่วไป ให้เข้ามาศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมภายในพื้นที่และได้รับการอบรมณ จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม - ๒ มิถุนายน ๒๕๕๖ เพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราช ร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชที่มีศักยภาพอีก ๓ แห่ง ได้แก่ ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดพระธาตุดอยสะเก็ด อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่และศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์เมืองโพนพิสัย อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย นอกจากนี้ยังมีการเปิดพื้นที่อำเภอท่าโสม และพื้นที่เกาะช้าง ที่มีประวัติศาสตร์สืบเนื่องกัน มาตั้งแต่อดีต โดยการวางแนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ ที่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน ในชุมชน องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ผู้นําชุมชนในการสนับสนุน ผู้บริหารศูนย์และคณะกรรมการวางแนวทางในการพัฒนาตลอดเวลา ผ่านทุนทางวัฒนธรรม ด้านวิถีชีวิต ภูมิปัญญาต่างๆ ที่หลากหลาย ทุนทางสังคม ด้านคน สิ่งแวดล้อม ให้ก่อให้เกิดความยั่งยืนของประชาชนชาวท่าโสม โดยเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของชาวจังหวัดตราดต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: