ปัจจุบันจำนวนประชากรผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลียมีประมาณ ร้อยละ 13 ขอ การแปล - ปัจจุบันจำนวนประชากรผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลียมีประมาณ ร้อยละ 13 ขอ อังกฤษ วิธีการพูด

ปัจจุบันจำนวนประชากรผู้สูงอายุของปร

ปัจจุบันจำนวนประชากรผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลียมีประมาณ ร้อยละ 13 ของจำนวนประชากรทั้งหมด 20 ล้านคน และมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี เนื่องมาจากการพัฒนาทางด้านสาธารณสุข ทำให้ประชากรมีสุขภาพที่ดีและมีชีวิตที่ยืนยาวมากขึ้น จากจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น รัฐบาลออสเตรเลียได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุ จึงกำหนดมาตรการต่างๆ เพื่อคุ้มครองผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสวัสดิการที่จัดให้แก่ผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมทั้งมาตรการในการคุ้มครองผู้สูงอายุจากการถูกทารุณกรรมด้วย

รัฐบาลออสเตรเลียได้จัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุไว้หลายประเภท ภายใต้การควบคุมและดูแลของกระทรวงครอบครัวและบริการชุมชน (Department of Family and Community Services) และ กระทรวงสุขภาพและผู้สูงอายุ (Department of Health and Ageing ) ดังนี้
1. สวัสดิการเงินบำนาญและเงินช่วยเหลือต่างๆ ประเทศออสเตรเลียได้จัดเงินบำนาญ (Age Pension) และเงินช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุโดยทั่วไปที่มีอายุครบ 65 ปี และผู้สูงอายุบางประเภทไว้โดยเฉพาะ ได้แก่ เงินบำนาญหรือเงินช่วยเหลือสำหรับหญิงหม้ายที่เป็นผู้สูงอายุ (Widow allowance หรือ Widow ‘B’ Pension ) เงินช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุที่ยังอายุไม่ครบเกษียณอายุ (65 ปี) แต่ถูกเอาเปรียบในตลาดแรงงาน (Mature Age Allowance) ผู้สูงอายุซึ่งเป็นคู่สมรสของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการประเภทต่างๆ (Partner Allowance)และเงินบำนาญของภรรยาของผู้ได้รับเงินบำนาญ(Wife Pension) อย่างไรก็ตามบุคคลประเภทดังกล่าว ปัจจุบันไม่ได้รับสิทธิในการได้รับเงินช่วยเหลือหรือเงินบำนาญ เว้นแต่จะได้รับสิทธิก่อนวันที่กำหนดไว้
หลักเกณฑ์ในการขอรับเงินบำนาญและเงินช่วยเหลือจะพิจารณาจากอายุ ถิ่นที่อยู่ รายได้ และทรัพย์สิน กล่าวคือ ผู้สูงอายุทุกคนที่ขอรับเงินจะต้องมี อายุ ถิ่นที่อยู่ ตามที่ได้กำหนดไว้ และมีรายได้และทรัพย์สินไม่เกินอัตราที่กำหนด ทั้งนี้ไม่คำนึงถึงว่าผู้สูงอายุจะเคยทำงานในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน นอกจากนั้นประเทศออสเตรเลียยังจัดให้มีเงินสะสมซึ่งเป็นส่วนเพิ่มของเงินบำนาญ โดยเก็บจากผู้ทำงานส่วนหนึ่งและนายจ้างจ่ายสมทบส่วนหนึ่ง ผู้มีงานทำทุกคนไม่ว่าจะทำงานในภาครัฐหรือเอกชน ต้องเป็นสมาชิกกองทุนเงินสะสม (มีลักษณะคล้ายกับกองทุนประกันสังคมหรือกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการของไทย) โดยที่ผู้ทำงานสามารถเลือกกองทุนที่ตนจะลงทุนได้
2. สวัสดิการด้านที่พักอาศัย ประเทศออสเตรเลีย ได้จัดสวัสดิการด้านที่พักอาศัยไว้ 2 รูปแบบในหลายโครงการ กล่าวคือ ได้จัดที่พักอาศัยรวมให้แก่ผู้สูงอายุและมีโครงการช่วยเหลือผู้สูงอายุให้มีที่พักอาศัยเป็นของตนเอง โดยมีหน่วยงานตามโครงการประเมินว่า ผู้สูงอายุคนใดควรได้รับสิทธิโดยพิจารณาจากความจำเป็นและความเหมาะสมของแต่ละบุคคลโดยไม่ได้พิจารณาจากอายุหรือเชื้อชาติ
3. สวัสดิการด้านสุขภาพอนามัย ให้ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้เข้ารับการรักษาในฐานะคนไข้ทั่วไปของโรงพยาบาลรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและได้รับการรักษาจากแพทย์สาขาต่างๆหรือได้รับเงินสนับสนุนค่ารักษาพยาบาล โดยจัดเป็นโครงการประกันสุขภาพ (Medicare) นอกจากนั้นยังมีโครงการช่วยเหลือค่ายารักษาโรค (Pharmaceutical Benefits Scheme) เพื่อให้ประชาชนชาวออสเตรเลียสามารถได้รับการอุดหนุนทางการเงินและยารักษาโรคจากโครงการ
4. สวัสดิการเพิ่มเติมอื่นๆ เช่น สวัสดิการเงินช่วยเหลือค่าโทรศัพท์ และการเป็นสมาชิกของบัตรผู้สูงอายุ ซึ่งใช้รับรองสิทธิต่างๆของผู้สูงอายุ แม้รัฐบาลประเทศออสเตรเลียจะมีมาตรการในการดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นแล้ว ในอีกด้านหนึ่งของสังคมยังมีผู้สูงอายุที่ถูกกระทำทารุณกรรมและทอดทิ้ง (Elder Abuse and Neglect) ในรูปแบบต่างๆ เช่น ถูกปล่อยปะละเลย ถูกกระทำทารุณต่อร่างกาย จิตใจ ล่วงละเมิดทางเพศ ใช้เงิน หรือ จัดการทรัพย์สินของผู้สูงอายุในทางที่ผิด ถูกกักกันไม่ให้ติดต่อกับผู้คนภายนอก เป็นต้น ดังนั้น ประเทศออสเตรเลียจึงได้กำหนดมาตรการในการดูแลและป้องกันผู้สูงอายุจากการถูกทารุณกรรมในด้านต่างๆ ไว้ด้วย เช่น ในรัฐ New South Wales มีมาตรการทางกฎหมายดังต่อไปนี้ ตัวอย่าง เช่น
ในกรณีที่เกิดอาชญากรรมร้ายแรง ให้บุคคลที่พบเห็น หรือเชื่อว่ามีคนถูกทำร้ายมีหน้าที่ต้องรายงานและให้ข้อมูลกับตำรวจเพื่อช่วยในการจับกุม ดำเนินคดีหรือลงโทษผู้กระทำความผิด อย่างไรก็ตามในกรณีที่มิใช่การกระทำผิดร้ายแรง ปัจจุบันยังไม่มีมาตรการบังคับให้บุคคลที่พบเห็นหรือรู้ว่ามีการกระทำผิดรายงาน
ให้ศาลออกคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวเพื่อคุ้มครองบุคคลที่ถูกทำร้าย โดยศาลจะออกคำสั่งห้ามไม่ให้จำเลยติดต่อหรือมีพฤติกรรมยุ่งเกี่ยวกับบุคคลที่ถูกทำร้าย (Apprehended Violence Orders)
ให้การคุ้มครองผู้สูงอายุในกรณีที่ผู้สูงอายุถูกกระทำทารุณโดยผู้ป่วยทางจิตหรือผู้ที่มีจิตบกพร่อง โดยการนำผู้ป่วยทางจิต หรือผู้ที่มีจิตบกพร่องมาควบคุมดูแลและรักษาพยาบาล
ในกรณีที่ผู้สูงอายุจัดการเรื่องเงินบำนาญเองไม่ได้ กระทรวงสวัสดิการสังคม (Department of Social Security) สามารถจ่ายเงินบำนาญให้กับบุคคลอื่นแทน เช่น ญาติของผู้สูงอายุได้ โดยที่บุคคลนั้นต้องมีหน้าที่ใช้เงินบำนาญเพื่อประโยชน์ของผู้รับบำนาญเท่านั้น
ถ้าผู้สูงอายุไม่สามารถจัดการเงินของตัวเองได้และไม่มีใครมีอำนาจในการจัดการทรัพย์สินแทน ผู้สูงอายุอาจร้องขอให้ศาลสูง หรือ Guardianship Board ซึ่งมีอำนาจในการแต่งตั้งผู้อนุบาลและผู้จัดการทางการเงิน เป็นต้น เป็นผู้แต่งตั้งผู้จัดการทางการเงินได้

ที่มา: ข่าวสารพัฒนากฎหมาย ลำดับที่ 9-14 ตุลาคม 2548
ฝ่ายพัฒนากฎหมาย
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
www.lawreform.go.th
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The current population of seniors in the country, Australia has about 13 percent of the total population of 20 million people, and likely higher every year due to health development. Population health and longevity much more From the number of older people increases. The Government of Australia has realized the importance of elderly care, therefore, takes measures to protect the welfare of the elderly in both provided for the elderly to provide the elderly with better quality of life. Including measures to protect the elderly from abuse by The Government of Australia, welfare for the elderly for several categories. Under the Ministry's supervision and control, family and community services (Department of Family and Community Services) and the Ministry of health and the elderly (Department of Health and Ageing) as follows:1. สวัสดิการเงินบำนาญและเงินช่วยเหลือต่างๆ ประเทศออสเตรเลียได้จัดเงินบำนาญ (Age Pension) และเงินช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุโดยทั่วไปที่มีอายุครบ 65 ปี และผู้สูงอายุบางประเภทไว้โดยเฉพาะ ได้แก่ เงินบำนาญหรือเงินช่วยเหลือสำหรับหญิงหม้ายที่เป็นผู้สูงอายุ (Widow allowance หรือ Widow ‘B’ Pension ) เงินช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุที่ยังอายุไม่ครบเกษียณอายุ (65 ปี) แต่ถูกเอาเปรียบในตลาดแรงงาน (Mature Age Allowance) ผู้สูงอายุซึ่งเป็นคู่สมรสของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการประเภทต่างๆ (Partner Allowance)และเงินบำนาญของภรรยาของผู้ได้รับเงินบำนาญ(Wife Pension) อย่างไรก็ตามบุคคลประเภทดังกล่าว ปัจจุบันไม่ได้รับสิทธิในการได้รับเงินช่วยเหลือหรือเงินบำนาญ เว้นแต่จะได้รับสิทธิก่อนวันที่กำหนดไว้หลักเกณฑ์ในการขอรับเงินบำนาญและเงินช่วยเหลือจะพิจารณาจากอายุ ถิ่นที่อยู่ รายได้ และทรัพย์สิน กล่าวคือ ผู้สูงอายุทุกคนที่ขอรับเงินจะต้องมี อายุ ถิ่นที่อยู่ ตามที่ได้กำหนดไว้ และมีรายได้และทรัพย์สินไม่เกินอัตราที่กำหนด ทั้งนี้ไม่คำนึงถึงว่าผู้สูงอายุจะเคยทำงานในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน นอกจากนั้นประเทศออสเตรเลียยังจัดให้มีเงินสะสมซึ่งเป็นส่วนเพิ่มของเงินบำนาญ โดยเก็บจากผู้ทำงานส่วนหนึ่งและนายจ้างจ่ายสมทบส่วนหนึ่ง ผู้มีงานทำทุกคนไม่ว่าจะทำงานในภาครัฐหรือเอกชน ต้องเป็นสมาชิกกองทุนเงินสะสม (มีลักษณะคล้ายกับกองทุนประกันสังคมหรือกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการของไทย) โดยที่ผู้ทำงานสามารถเลือกกองทุนที่ตนจะลงทุนได้2. สวัสดิการด้านที่พักอาศัย ประเทศออสเตรเลีย ได้จัดสวัสดิการด้านที่พักอาศัยไว้ 2 รูปแบบในหลายโครงการ กล่าวคือ ได้จัดที่พักอาศัยรวมให้แก่ผู้สูงอายุและมีโครงการช่วยเหลือผู้สูงอายุให้มีที่พักอาศัยเป็นของตนเอง โดยมีหน่วยงานตามโครงการประเมินว่า ผู้สูงอายุคนใดควรได้รับสิทธิโดยพิจารณาจากความจำเป็นและความเหมาะสมของแต่ละบุคคลโดยไม่ได้พิจารณาจากอายุหรือเชื้อชาติ
3. สวัสดิการด้านสุขภาพอนามัย ให้ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้เข้ารับการรักษาในฐานะคนไข้ทั่วไปของโรงพยาบาลรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและได้รับการรักษาจากแพทย์สาขาต่างๆหรือได้รับเงินสนับสนุนค่ารักษาพยาบาล โดยจัดเป็นโครงการประกันสุขภาพ (Medicare) นอกจากนั้นยังมีโครงการช่วยเหลือค่ายารักษาโรค (Pharmaceutical Benefits Scheme) เพื่อให้ประชาชนชาวออสเตรเลียสามารถได้รับการอุดหนุนทางการเงินและยารักษาโรคจากโครงการ
4. สวัสดิการเพิ่มเติมอื่นๆ เช่น สวัสดิการเงินช่วยเหลือค่าโทรศัพท์ และการเป็นสมาชิกของบัตรผู้สูงอายุ ซึ่งใช้รับรองสิทธิต่างๆของผู้สูงอายุ แม้รัฐบาลประเทศออสเตรเลียจะมีมาตรการในการดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นแล้ว ในอีกด้านหนึ่งของสังคมยังมีผู้สูงอายุที่ถูกกระทำทารุณกรรมและทอดทิ้ง (Elder Abuse and Neglect) ในรูปแบบต่างๆ เช่น ถูกปล่อยปะละเลย ถูกกระทำทารุณต่อร่างกาย จิตใจ ล่วงละเมิดทางเพศ ใช้เงิน หรือ จัดการทรัพย์สินของผู้สูงอายุในทางที่ผิด ถูกกักกันไม่ให้ติดต่อกับผู้คนภายนอก เป็นต้น ดังนั้น ประเทศออสเตรเลียจึงได้กำหนดมาตรการในการดูแลและป้องกันผู้สูงอายุจากการถูกทารุณกรรมในด้านต่างๆ ไว้ด้วย เช่น ในรัฐ New South Wales มีมาตรการทางกฎหมายดังต่อไปนี้ ตัวอย่าง เช่น
ในกรณีที่เกิดอาชญากรรมร้ายแรง ให้บุคคลที่พบเห็น หรือเชื่อว่ามีคนถูกทำร้ายมีหน้าที่ต้องรายงานและให้ข้อมูลกับตำรวจเพื่อช่วยในการจับกุม ดำเนินคดีหรือลงโทษผู้กระทำความผิด อย่างไรก็ตามในกรณีที่มิใช่การกระทำผิดร้ายแรง ปัจจุบันยังไม่มีมาตรการบังคับให้บุคคลที่พบเห็นหรือรู้ว่ามีการกระทำผิดรายงาน
ให้ศาลออกคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวเพื่อคุ้มครองบุคคลที่ถูกทำร้าย โดยศาลจะออกคำสั่งห้ามไม่ให้จำเลยติดต่อหรือมีพฤติกรรมยุ่งเกี่ยวกับบุคคลที่ถูกทำร้าย (Apprehended Violence Orders)
ให้การคุ้มครองผู้สูงอายุในกรณีที่ผู้สูงอายุถูกกระทำทารุณโดยผู้ป่วยทางจิตหรือผู้ที่มีจิตบกพร่อง โดยการนำผู้ป่วยทางจิต หรือผู้ที่มีจิตบกพร่องมาควบคุมดูแลและรักษาพยาบาล
ในกรณีที่ผู้สูงอายุจัดการเรื่องเงินบำนาญเองไม่ได้ กระทรวงสวัสดิการสังคม (Department of Social Security) สามารถจ่ายเงินบำนาญให้กับบุคคลอื่นแทน เช่น ญาติของผู้สูงอายุได้ โดยที่บุคคลนั้นต้องมีหน้าที่ใช้เงินบำนาญเพื่อประโยชน์ของผู้รับบำนาญเท่านั้น
ถ้าผู้สูงอายุไม่สามารถจัดการเงินของตัวเองได้และไม่มีใครมีอำนาจในการจัดการทรัพย์สินแทน ผู้สูงอายุอาจร้องขอให้ศาลสูง หรือ Guardianship Board ซึ่งมีอำนาจในการแต่งตั้งผู้อนุบาลและผู้จัดการทางการเงิน เป็นต้น เป็นผู้แต่งตั้งผู้จัดการทางการเงินได้

ที่มา: ข่าวสารพัฒนากฎหมาย ลำดับที่ 9-14 ตุลาคม 2548
ฝ่ายพัฒนากฎหมาย
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
www.lawreform.go.th
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: