ข้อความ
ประวัติศาสตร์
ประวัติความเป็นมา เมื่อปี ๒๕๒๗ ฯพณฯ
ประวัติความเป็นมา
เมื่อปี ๒๕๒๗ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี คนที่ ๑๖ ได้ดำริให้สร้างสะพาน ติณสูลานนท์ เชื่อมเกาะยอกับผืนแผ่นดินใหญ่ฝั่งอำเภอเมืองสงขลาและอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ท่ามกลางความชื่นชมศรัทธาของชาวเกาะยอ ชาวสงขลา และประชาชนโดยทั่วไป
ต่อมาในปี ๒๕๓๖ สภาตำบลเกาะยอ และพระกิตติมงคลพิพัฒน์ (หลวงพ่อจ้อย) อดีตเจ้าอาวาสวัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับประชาชนชาวจังหวัดสงขลา โดยความเห็นชอบของสภาตำบลและสภาท้องถิ่นทุกแห่งในจังหวัดสงขลา พร้อมใจกันเสนอแนวคิดที่สร้างรูปเหมือน ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขึ้น เสมือนเป็นแบบหรือสัญลักษณ์ของปูชนียบุคคลแห่งความซื่อสัตย์สุจริต และยึดมั่นในการกระทำคุณความดี โดยกำหนดที่ตั้งรูปเหมือน ณ สวนป๋าเปรม เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พร้อมกับการสร้างอาคารเอนกประสงค์ และการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์รองรับ โดยเห็นพ้องต้องกันให้ตั้งชื่อโครงการว่า "สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์"
๑. การก่อสร้าง
เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ การสร้างอาคารเอนกประสงค์ได้เริ่มขึ้นโดยฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ได้กรุณาให้เกียรติเป็นประธานประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ จากนั้นการสร้างสวน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก็ดำเนินไปด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชนชาวสงขลา และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป
๒. เปิดตัวสู่สาธารณชน
วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๑ สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เปิดตัวสู่ความชื่นชมของสาธารณชนครั้งแรกในการประกอบพิธีลงนามในข้อตกลงสัญญาซื้่อขายก๊าซธรรมชาติในแหล่งพื้นที่พัฒนาร่วมไทย - มาเลเซีย ระหว่างรัฐบาลไทย โดยฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศไทยและรัฐบาลมาเลเซียโดย ฯพณฯ ดาต๊ะ ดร.ศรี มหาเธร์ โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศมาเลเซีย ร่วมเป็นสักขีพยาน
วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๓ ประกอบพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ โดยพระสาสโสภณเจ้าอาวาสวัดโสมนัสวิหาร เจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุต) ผู้ปฏิบัติภารกิจแทน เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชเป็นประธาน
๓. พื้นที่สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา
สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา มีพื้นที่ ๑๕๐ ไร่(รวมพื้นที่ศูนย์บ่มเพาะคนดี) ตั้งอยู่ที่เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำ่บลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา แบ่งพื้นที่ตามรูปแบบของการใช้ประโยชน์เป็น ๓ ส่วนด้วยกัน คือ
บริเวณที่ ๑ (Zone 1)
ประกอบด้วยหอประวัติ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รูปเหมือน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เพื่อเชิดชูเกียรติคุณความดีของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
บริเวณที่ ๒ (Zon 2)
ประกอบด้วย สวนสาธารณะ ประติมากรรมกลางแจ้ง สวนพฤกษศาสตร์ สวนตาลโตนด แหล่งน้ำกลางสวน เวทีเปิด อัฒจันทร์ธรรมชาติ ลานวัฒนธรรมกลางแจ้ง ศูนย์จำหน่ายเครื่องดื่ม อาคารบริการท่าเทียบเรือ และศูนย์บริการท่องเที่ยวทางน้ำ
บริเวณที่ ๓ (Zone 3)
ประกอบด้วย ศูนย์บริการการเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน มีสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติชีวภาพป่าชายเลน (Walk way) ความยาว ๘๐๐ เมตร มีศาลานิทรรศการ ๔ ศาลาเพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลนมีลานพักแรม (Camping) สำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ตลอดจนศูนย์ฝึกอบรม (ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาค ๑๑) อาคารบ้านพักพนักงานและเรือนเพาะชำ
ประวัติความเป็นมา เมื่อปี ๒๕๒๗ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี คนที่ ๑๖ ได้ดำริให้สร้างสะพาน ติณสูลานนท์ เชื่อมเกาะยอกับผืนแผ่นดินใหญ่ฝั่งอำเภอเมืองสงขลาและอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ท่ามกลางความชื่นชมศรัทธาของชาวเกาะยอ ชาวสงขลา และประชาชนโดยทั่วไป ต่อมาในปี ๒๕๓๖ สภาตำบลเกาะยอ และพระกิตติมงคลพิพัฒน์ (หลวงพ่อจ้อย) อดีตเจ้าอาวาสวัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับประชาชนชาวจังหวัดสงขลา โดยความเห็นชอบของสภาตำบลและสภาท้องถิ่นทุกแห่งในจังหวัดสงขลา พร้อมใจกันเสนอแนวคิดที่สร้างรูปเหมือน ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขึ้น เสมือนเป็นแบบหรือสัญลักษณ์ของปูชนียบุคคลแห่งความซื่อสัตย์สุจริต และยึดมั่นในการกระทำคุณความดี โดยกำหนดที่ตั้งรูปเหมือน ณ สวนป๋าเปรม เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พร้อมกับการสร้างอาคารเอนกประสงค์ และการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์รองรับ โดยเห็นพ้องต้องกันให้ตั้งชื่อโครงการว่า "สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์" ๑. การก่อสร้าง เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ การสร้างอาคารเอนกประสงค์ได้เริ่มขึ้นโดยฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ได้กรุณาให้เกียรติเป็นประธานประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ จากนั้นการสร้างสวน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก็ดำเนินไปด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชนชาวสงขลา และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป ๒. เปิดตัวสู่สาธารณชน วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๑ สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เปิดตัวสู่ความชื่นชมของสาธารณชนครั้งแรกในการประกอบพิธีลงนามในข้อตกลงสัญญาซื้่อขายก๊าซธรรมชาติในแหล่งพื้นที่พัฒนาร่วมไทย - มาเลเซีย ระหว่างรัฐบาลไทย โดยฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศไทยและรัฐบาลมาเลเซียโดย ฯพณฯ ดาต๊ะ ดร.ศรี มหาเธร์ โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศมาเลเซีย ร่วมเป็นสักขีพยาน วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๓ ประกอบพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ โดยพระสาสโสภณเจ้าอาวาสวัดโสมนัสวิหาร เจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุต) ผู้ปฏิบัติภารกิจแทน เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชเป็นประธาน ๓. พื้นที่สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา มีพื้นที่ ๑๕๐ ไร่(รวมพื้นที่ศูนย์บ่มเพาะคนดี) ตั้งอยู่ที่เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำ่บลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา แบ่งพื้นที่ตามรูปแบบของการใช้ประโยชน์เป็น ๓ ส่วนด้วยกัน คือ บริเวณที่ ๑ (Zone 1) ประกอบด้วยหอประวัติ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รูปเหมือน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เพื่อเชิดชูเกียรติคุณความดีของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ บริเวณที่ ๒ (Zon 2) ประกอบด้วย สวนสาธารณะ ประติมากรรมกลางแจ้ง สวนพฤกษศาสตร์ สวนตาลโตนด แหล่งน้ำกลางสวน เวทีเปิด อัฒจันทร์ธรรมชาติ ลานวัฒนธรรมกลางแจ้ง ศูนย์จำหน่ายเครื่องดื่ม อาคารบริการท่าเทียบเรือ และศูนย์บริการท่องเที่ยวทางน้ำ บริเวณที่ ๓ (Zone 3) ประกอบด้วย ศูนย์บริการการเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน มีสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติชีวภาพป่าชายเลน (Walk way) ความยาว ๘๐๐ เมตร มีศาลานิทรรศการ ๔ ศาลาเพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลนมีลานพักแรม (Camping) สำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ตลอดจนศูนย์ฝึกอบรม (ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาค ๑๑) อาคารบ้านพักพนักงานและเรือนเพาะชำ
0
/5000
ตรวจหาภาษา
กรีก
กันนาดา
กาลิเชียน
คลิงออน
คอร์สิกา
คาซัค
คาตาลัน
คินยารวันดา
คีร์กิซ
คุชราต
จอร์เจีย
จีน
จีนดั้งเดิม
ชวา
ชิเชวา
ซามัว
ซีบัวโน
ซุนดา
ซูลู
ญี่ปุ่น
ดัตช์
ตุรกี
ทมิฬ
ทาจิก
ทาทาร์
นอร์เวย์
บอสเนีย
บัลแกเรีย
บาสก์
ปัญจาป
ฝรั่งเศส
พาชตู
ฟริเชียน
ฟินแลนด์
ฟิลิปปินส์
ภาษาอินโดนีเซี
มองโกเลีย
มัลทีส
มาซีโดเนีย
มาราฐี
มาลากาซี
มาลายาลัม
มาเลย์
ม้ง
ยิดดิช
ยูเครน
รัสเซีย
ละติน
ลักเซมเบิร์ก
ลัตเวีย
ลาว
ลิทัวเนีย
สวาฮิลี
สวีเดน
สิงหล
สินธี
สเปน
สโลวัก
สโลวีเนีย
อังกฤษ
อัมฮาริก
อาร์เซอร์ไบจัน
อาร์เมเนีย
อาหรับ
อิกโบ
อิตาลี
อุยกูร์
อุสเบกิสถาน
อูรดู
ฮังการี
ฮัวซา
ฮาวาย
ฮินดี
ฮีบรู
เกลิกสกอต
เกาหลี
เขมร
เคิร์ด
เช็ก
เซอร์เบียน
เซโซโท
เดนมาร์ก
เตลูกู
เติร์กเมน
เนปาล
เบงกอล
เบลารุส
เปอร์เซีย
เมารี
เมียนมา (พม่า)
เยอรมัน
เวลส์
เวียดนาม
เอสเปอแรนโต
เอสโทเนีย
เฮติครีโอล
แอฟริกา
แอลเบเนีย
โคซา
โครเอเชีย
โชนา
โซมาลี
โปรตุเกส
โปแลนด์
โยรูบา
โรมาเนีย
โอเดีย (โอริยา)
ไทย
ไอซ์แลนด์
ไอร์แลนด์
กรีก
กันนาดา
กาลิเชียน
คลิงออน
คอร์สิกา
คาซัค
คาตาลัน
คินยารวันดา
คีร์กิซ
คุชราต
จอร์เจีย
จีน
จีนดั้งเดิม
ชวา
ชิเชวา
ซามัว
ซีบัวโน
ซุนดา
ซูลู
ญี่ปุ่น
ดัตช์
ตุรกี
ทมิฬ
ทาจิก
ทาทาร์
นอร์เวย์
บอสเนีย
บัลแกเรีย
บาสก์
ปัญจาป
ฝรั่งเศส
พาชตู
ฟริเชียน
ฟินแลนด์
ฟิลิปปินส์
ภาษาอินโดนีเซี
มองโกเลีย
มัลทีส
มาซีโดเนีย
มาราฐี
มาลากาซี
มาลายาลัม
มาเลย์
ม้ง
ยิดดิช
ยูเครน
รัสเซีย
ละติน
ลักเซมเบิร์ก
ลัตเวีย
ลาว
ลิทัวเนีย
สวาฮิลี
สวีเดน
สิงหล
สินธี
สเปน
สโลวัก
สโลวีเนีย
อังกฤษ
อัมฮาริก
อาร์เซอร์ไบจัน
อาร์เมเนีย
อาหรับ
อิกโบ
อิตาลี
อุยกูร์
อุสเบกิสถาน
อูรดู
ฮังการี
ฮัวซา
ฮาวาย
ฮินดี
ฮีบรู
เกลิกสกอต
เกาหลี
เขมร
เคิร์ด
เช็ก
เซอร์เบียน
เซโซโท
เดนมาร์ก
เตลูกู
เติร์กเมน
เนปาล
เบงกอล
เบลารุส
เปอร์เซีย
เมารี
เมียนมา (พม่า)
เยอรมัน
เวลส์
เวียดนาม
เอสเปอแรนโต
เอสโทเนีย
เฮติครีโอล
แอฟริกา
แอลเบเนีย
โคซา
โครเอเชีย
โชนา
โซมาลี
โปรตุเกส
โปแลนด์
โยรูบา
โรมาเนีย
โอเดีย (โอริยา)
ไทย
ไอซ์แลนด์
ไอร์แลนด์
จาก:
-
เป็น:
-
ผลลัพธ์ (
อังกฤษ
) 1:
[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมา เมื่อปี ๒๕๒๗ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี คนที่ ๑๖ ได้ดำริให้สร้างสะพาน ติณสูลานนท์ เชื่อมเกาะยอกับผืนแผ่นดินใหญ่ฝั่งอำเภอเมืองสงขลาและอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ท่ามกลางความชื่นชมศรัทธาของชาวเกาะยอ ชาวสงขลา และประชาชนโดยทั่วไป ต่อมาในปี ๒๕๓๖ สภาตำบลเกาะยอ และพระกิตติมงคลพิพัฒน์ (หลวงพ่อจ้อย) อดีตเจ้าอาวาสวัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับประชาชนชาวจังหวัดสงขลา โดยความเห็นชอบของสภาตำบลและสภาท้องถิ่นทุกแห่งในจังหวัดสงขลา พร้อมใจกันเสนอแนวคิดที่สร้างรูปเหมือน ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขึ้น เสมือนเป็นแบบหรือสัญลักษณ์ของปูชนียบุคคลแห่งความซื่อสัตย์สุจริต และยึดมั่นในการกระทำคุณความดี โดยกำหนดที่ตั้งรูปเหมือน ณ สวนป๋าเปรม เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พร้อมกับการสร้างอาคารเอนกประสงค์ และการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์รองรับ โดยเห็นพ้องต้องกันให้ตั้งชื่อโครงการว่า "สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์"๑. การก่อสร้าง เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ การสร้างอาคารเอนกประสงค์ได้เริ่มขึ้นโดยฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ได้กรุณาให้เกียรติเป็นประธานประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ จากนั้นการสร้างสวน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก็ดำเนินไปด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชนชาวสงขลา และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป ๒. เปิดตัวสู่สาธารณชน วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๑ สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เปิดตัวสู่ความชื่นชมของสาธารณชนครั้งแรกในการประกอบพิธีลงนามในข้อตกลงสัญญาซื้่อขายก๊าซธรรมชาติในแหล่งพื้นที่พัฒนาร่วมไทย - มาเลเซีย ระหว่างรัฐบาลไทย โดยฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศไทยและรัฐบาลมาเลเซียโดย ฯพณฯ ดาต๊ะ ดร.ศรี มหาเธร์ โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศมาเลเซีย ร่วมเป็นสักขีพยาน
วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๓ ประกอบพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ โดยพระสาสโสภณเจ้าอาวาสวัดโสมนัสวิหาร เจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุต) ผู้ปฏิบัติภารกิจแทน เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชเป็นประธาน
๓. พื้นที่สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา
สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา มีพื้นที่ ๑๕๐ ไร่(รวมพื้นที่ศูนย์บ่มเพาะคนดี) ตั้งอยู่ที่เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำ่บลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา แบ่งพื้นที่ตามรูปแบบของการใช้ประโยชน์เป็น ๓ ส่วนด้วยกัน คือ
บริเวณที่ ๑ (Zone 1)
ประกอบด้วยหอประวัติ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รูปเหมือน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เพื่อเชิดชูเกียรติคุณความดีของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
บริเวณที่ ๒ (Zon 2)
ประกอบด้วย สวนสาธารณะ ประติมากรรมกลางแจ้ง สวนพฤกษศาสตร์ สวนตาลโตนด แหล่งน้ำกลางสวน เวทีเปิด อัฒจันทร์ธรรมชาติ ลานวัฒนธรรมกลางแจ้ง ศูนย์จำหน่ายเครื่องดื่ม อาคารบริการท่าเทียบเรือ และศูนย์บริการท่องเที่ยวทางน้ำ
บริเวณที่ ๓ (Zone 3)
ประกอบด้วย ศูนย์บริการการเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน มีสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติชีวภาพป่าชายเลน (Walk way) ความยาว ๘๐๐ เมตร มีศาลานิทรรศการ ๔ ศาลาเพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลนมีลานพักแรม (Camping) สำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ตลอดจนศูนย์ฝึกอบรม (ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาค ๑๑) อาคารบ้านพักพนักงานและเรือนเพาะชำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (
อังกฤษ
) 2:
[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมา
เมื่อปี ๒๕๒๗ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี คนที่ ๑๖ ได้ดำริให้สร้างสะพาน ติณสูลานนท์ เชื่อมเกาะยอกับผืนแผ่นดินใหญ่ฝั่งอำเภอเมืองสงขลาและอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ท่ามกลางความชื่นชมศรัทธาของชาวเกาะยอ ชาวสงขลา และประชาชนโดยทั่วไป
ต่อมาในปี ๒๕๓๖ สภาตำบลเกาะยอ และพระกิตติมงคลพิพัฒน์ (หลวงพ่อจ้อย) อดีตเจ้าอาวาสวัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับประชาชนชาวจังหวัดสงขลา โดยความเห็นชอบของสภาตำบลและสภาท้องถิ่นทุกแห่งในจังหวัดสงขลา พร้อมใจกันเสนอแนวคิดที่สร้างรูปเหมือน ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ขึ้น เสมือนเป็นแบบหรือสัญลักษณ์ของปูชนียบุคคลแห่งความซื่อสัตย์สุจริต และยึดมั่นในการกระทำคุณความดี โดยกำหนดที่ตั้งรูปเหมือน ณ สวนป๋าเปรม เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำบลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พร้อมกับการสร้างอาคารเอนกประสงค์ และการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์รองรับ โดยเห็นพ้องต้องกันให้ตั้งชื่อโครงการว่า "สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์"
๑. การก่อสร้าง
เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๘ การสร้างอาคารเอนกประสงค์ได้เริ่มขึ้นโดยฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๑ ได้กรุณาให้เกียรติเป็นประธานประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ จากนั้นการสร้างสวน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก็ดำเนินไปด้วยความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชนชาวสงขลา และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป
๒. เปิดตัวสู่สาธารณชน
วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๑ สวนพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เปิดตัวสู่ความชื่นชมของสาธารณชนครั้งแรกในการประกอบพิธีลงนามในข้อตกลงสัญญาซื้่อขายก๊าซธรรมชาติในแหล่งพื้นที่พัฒนาร่วมไทย - มาเลเซีย ระหว่างรัฐบาลไทย โดยฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศไทยและรัฐบาลมาเลเซียโดย ฯพณฯ ดาต๊ะ ดร.ศรี มหาเธร์ โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศมาเลเซีย ร่วมเป็นสักขีพยาน
วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๓ ประกอบพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ โดยพระสาสโสภณเจ้าอาวาสวัดโสมนัสวิหาร เจ้าคณะภาค ๑๖-๑๗-๑๘ (ธรรมยุต) ผู้ปฏิบัติภารกิจแทน เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชเป็นประธาน
๓. พื้นที่สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา
สวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สงขลา มีพื้นที่ ๑๕๐ ไร่(รวมพื้นที่ศูนย์บ่มเพาะคนดี) ตั้งอยู่ที่เชิงสะพานติณสูลานนท์ หมู่ที่ ๒ ตำ่บลพะวง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา แบ่งพื้นที่ตามรูปแบบของการใช้ประโยชน์เป็น ๓ ส่วนด้วยกัน คือ
บริเวณที่ ๑ (Zone 1)
ประกอบด้วยหอประวัติ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รูปเหมือน พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เพื่อเชิดชูเกียรติคุณความดีของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
บริเวณที่ ๒ (Zon 2)
ประกอบด้วย สวนสาธารณะ ประติมากรรมกลางแจ้ง สวนพฤกษศาสตร์ สวนตาลโตนด แหล่งน้ำกลางสวน เวทีเปิด อัฒจันทร์ธรรมชาติ ลานวัฒนธรรมกลางแจ้ง ศูนย์จำหน่ายเครื่องดื่ม อาคารบริการท่าเทียบเรือ และศูนย์บริการท่องเที่ยวทางน้ำ
บริเวณที่ ๓ (Zone 3)
ประกอบด้วย ศูนย์บริการการเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน มีสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติชีวภาพป่าชายเลน (Walk way) ความยาว ๘๐๐ เมตร มีศาลานิทรรศการ ๔ ศาลาเพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลนมีลานพักแรม (Camping) สำหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ตลอดจนศูนย์ฝึกอบรม (ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาค ๑๑) อาคารบ้านพักพนักงานและเรือนเพาะชำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (
อังกฤษ
) 3:
[สำเนา]
คัดลอก!
History
.Once a year, ๒๕๒๗ prem Tinsulanonda, your excellency prime minister who 16 have thoughts to build a bridge linking the island with Prem cures the mainland coast, and singhanakhon District, Amphoe Muang Songkhla.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ภาษาอื่น ๆ
English
Français
Deutsch
中文(简体)
中文(繁体)
日本語
한국어
Español
Português
Русский
Italiano
Nederlands
Ελληνικά
العربية
Polski
Català
ภาษาไทย
Svenska
Dansk
Suomi
Indonesia
Tiếng Việt
Melayu
Norsk
Čeština
فارسی
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา:
กรีก
,
กันนาดา
,
กาลิเชียน
,
คลิงออน
,
คอร์สิกา
,
คาซัค
,
คาตาลัน
,
คินยารวันดา
,
คีร์กิซ
,
คุชราต
,
จอร์เจีย
,
จีน
,
จีนดั้งเดิม
,
ชวา
,
ชิเชวา
,
ซามัว
,
ซีบัวโน
,
ซุนดา
,
ซูลู
,
ญี่ปุ่น
,
ดัตช์
,
ตรวจหาภาษา
,
ตุรกี
,
ทมิฬ
,
ทาจิก
,
ทาทาร์
,
นอร์เวย์
,
บอสเนีย
,
บัลแกเรีย
,
บาสก์
,
ปัญจาป
,
ฝรั่งเศส
,
พาชตู
,
ฟริเชียน
,
ฟินแลนด์
,
ฟิลิปปินส์
,
ภาษาอินโดนีเซี
,
มองโกเลีย
,
มัลทีส
,
มาซีโดเนีย
,
มาราฐี
,
มาลากาซี
,
มาลายาลัม
,
มาเลย์
,
ม้ง
,
ยิดดิช
,
ยูเครน
,
รัสเซีย
,
ละติน
,
ลักเซมเบิร์ก
,
ลัตเวีย
,
ลาว
,
ลิทัวเนีย
,
สวาฮิลี
,
สวีเดน
,
สิงหล
,
สินธี
,
สเปน
,
สโลวัก
,
สโลวีเนีย
,
อังกฤษ
,
อัมฮาริก
,
อาร์เซอร์ไบจัน
,
อาร์เมเนีย
,
อาหรับ
,
อิกโบ
,
อิตาลี
,
อุยกูร์
,
อุสเบกิสถาน
,
อูรดู
,
ฮังการี
,
ฮัวซา
,
ฮาวาย
,
ฮินดี
,
ฮีบรู
,
เกลิกสกอต
,
เกาหลี
,
เขมร
,
เคิร์ด
,
เช็ก
,
เซอร์เบียน
,
เซโซโท
,
เดนมาร์ก
,
เตลูกู
,
เติร์กเมน
,
เนปาล
,
เบงกอล
,
เบลารุส
,
เปอร์เซีย
,
เมารี
,
เมียนมา (พม่า)
,
เยอรมัน
,
เวลส์
,
เวียดนาม
,
เอสเปอแรนโต
,
เอสโทเนีย
,
เฮติครีโอล
,
แอฟริกา
,
แอลเบเนีย
,
โคซา
,
โครเอเชีย
,
โชนา
,
โซมาลี
,
โปรตุเกส
,
โปแลนด์
,
โยรูบา
,
โรมาเนีย
,
โอเดีย (โอริยา)
,
ไทย
,
ไอซ์แลนด์
,
ไอร์แลนด์
, การแปลภาษา.
2. Make sure you check out industry‑stan
M applying oil in my hair.
ตอนไหนบอกฉัน
Lewd
แต่บางครั้งฉันก็เผลอคิดอยากมีเซ็กกับคุณ
2.4.1. Statistical analysis of α-tocophe
Physiotherapy and Education MSc
私はリラックスして、私は心配です。
within each of accession among different
In the other day I crushed a walnut with
Results indicate very low health literac
เลือด
The framework of research demonstrating
Just that i should have Been more unders
big problem !! we don't have time
But you are not johny depp
インターフェイス
โบก
Maybe we will go there again. If we go,
I want to narrow down the world
How is it for you
ฉันรู้สึกแย่จังเลยที่ขอให้คุณช่วย และฉัน
ต้องมีรายงานย้อนหลังด้วยเหรอ
3. Simplify the symbols if needed.
Copy
right
©2025
I Love Translation
. All reserved.
E-mail: