In ancient Japan, which believes the country themselves into a ball, the Sun is low on the big island, several. Around 3000-4000 islands majority opinion and not be grouped together. Cause of a victorious power is trying to assemble a fire troop reinforcement, strengthening. Those who defeat it attempts to collect the clans who defeated the waiting rhythm to scramble back powers. In those countries, Japan But the war Warriors of each city will be trained in the martial art that uses several types of warfare, such as archery, fencing using a spear, Lance, Chao riding and u yit (Jiangsu), which is fighting the use of bare hands in melee options. Unable to use magic weapons. The combat u yit by-products not intended to make an opponent with danger to life, but is intended to make your opponent is injured, and surrender. If not, it may surrender deform with use the method handle broken joints, various parts of the body.Warriors in ancient Japan it must fight u yit's coaching Jiangsu everyone and must be coupled with the meditations. Everyone must be willing to practice otherwise dangerous. Hurting opponents with u yit (Jiangsu) regardless of kindness and morality, and technically the Commander-in-Chief for the opportunity to aggravate an opponent at any time. Thus, a professor at the location of the training departments. Try to invent artificial poses, strategies vary independently. Open training known as a school for teaching Jewish yit's reign are about 20 m high.ส่วนการต่อสู้อีกประเภทหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชายูโดคือ ซูโม่ ซึ่งเป็นกีฬาอีกประเภทหนึ่งของญี่ปุ่นที่เป็นที่นิยมแพร่หลาย ซูโม่เป็นการต่อสู้ของคน 2 คน ใช้มือเปล่าและกำลังกายเข้าทำการต่อสู้กันมาแต่สมัยโบราณกว่า 2,500 ปีมาแล้ว นักประวัติศาสตร์ในวิชายิวยิตสูได้สนใจซูโม่มาก จากหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ที่รวบรวมโดย Imperial Command ชื่อ "นิฮงโชะกิ" ในปี พ.ศ. 1263 กล่าวถึงการแข่งขันในสมัยของจักรพรรด์ซุยนิน ก่อนคริสต์ศักราช 230 ปี (พ.ศ. 313) ยืนยันว่าเป็นการเริ่มต้นของวิชาซูโม่ ซึ่งแปลว่าการต่อสู้โดยใช้กำลังเข้าประลองกัน การต่อสู้ตามหลักวิชาซูโม่ บางท่าจะตรงกับวิชายิวยิตสู เช่น การใช้สะโพกเป็นกำลังบังคับขากวาดเหวี่ยงคู่ต่อสู้ให้เสียหลักล้มลงซึ่งท่านี้วิชายูยิสสูเรียกว่า ฮาราย กุชิ (Harai Goshi) เป็นการยืนยันว่าวิชาซูโม่มีความสัมพันธ์กับวิชายิวยิตสูการพัฒนาวิชายิวยิตสูเป็นวิชายูโด[แก้]ในตอนปลายยุคเซ็งโงะกุ วิชายิวยิตสูได้มีการรวบรวมไว้เป็นแบบแผน ต่อมาเมื่อ ตระกูลโทะกุงะวะ ได้ทำการปราบเจ้าแคว้นต่างๆ ให้สงบลงอย่างราบคาบและตั้งตนเป็น โชกุน ปกครองประเทศญี่ปุ่น ได้มีการปรับปรุงวิชาการรบของพวกซะมุไร นอกจากวิชาการรบแล้ว ซะมุไรต้องเรียนหนังสือเพื่อศึกษาวิชาการปกครอง การอบรมจิตใจให้มีศีลธรรม ยิวยิตสูเป็นวิชาป้องกันตัวชนิดหนึ่งในสมัยนั้น จึงต้องมีการปรับปรุงวิธีการต่อสู้จากการไร้ศีลธรรมมาเป็นการป้องกัน การต่อสู้ด้วยกำลังกาย และกำลังใจอันประกอบด้วยคุณธรรม มีจรรยามารยาทที่สุภาพเรียบร้อยขึ้น เพื่อให้เหมาะสมกับคำว่า ยิวยิตสู ซึ่งหมายความถึง ศิลปะแห่งความสุภาพ
เมื่อมีการปรับปรุงบทบัญญัติทางศีลธรรมของนักรบให้รัดกุมนี้เอง ทำให้ช่วง 50 ปีของสมัยกาไน บันจิ และคันม่ง (Kanei Banji and Kanmon พ.ศ. 2167-2216) ได้มีผู้เชี่ยวชาญวิชายิวยิตสูขึ้นมามากมาย โดยมีวิชาที่เป็นแนวเดียวกับยิวยิตสูแต่ใช้ชื่อต่างกันจำนวนมาก เช่น ไทจุสึ , วะจุสึ, โคะงุโซะกุ หรือ เค็มโปะ เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดเป็นการต่อสู้ที่ทำให้คู่ต่อสู้พ่ายแพ้โดยใช้มือเปล่า ทำให้วิชายิวยิตสูเป็นที่นิยมมาตลอดสมัยโทะกุงะวะ
ต่อมาในยุคเมจิ ญี่ปุ่นได้รับอารยธรรมตะวันตกเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น ทำให้วัฒนธรรมประเพณีของญี่ปุ่นหลายอย่างกลายมาเป็นสิ่งล้าสมัยของต่างชาติ และชาวญี่ปุ่นสมัยใหม่ ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2414 จึงได้ออกกฎหมายห้ามนักรบใช้ซะมุไรเป็นอาวุธ ห้ามพกหรือสะพายดาบซะมุไร ยิวยิตสูซึ่งเป็นวิชาที่นิยมเล่นกับซะมุไร จึงถูกมองว่าเป็นสิ่งล้าสมัย เพราะทารุณ ป่าเถื่อน ฉะนั้นวิชายิวยิตสูจึงได้รับการปรับปรุงและแก้ไขพร้อมกันหลายอย่างในยุคเมจิ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ศิลปะการต่อสู้นานาชนิดรวมทั้งยิวยิตสูต้องซบเซาลง สถาบันที่เปิดฝึกสอนยิวยิตสู ซึ่งมีอยู่แพร่หลายได้รับกระทบกระเทือนถึงกับเลิกกิจการไปเป็นอันมาก
การกำเนิดวิชายูโด[แก้]
หลังจากที่ญี่ปุ่นได้ปฏิวัติวัฒนธรรมในยุคเมจิ ทำให้วิชายิวยิตสูเสื่อมความนิยมลงจนหมด ต่อมาเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2403 ชาวญี่ปุ่นชื่อ คะโน จิโงะโร ชาวเมืองชิโรโกะซึ่งได้อพยพครอบครัวมาอยู่ในกรุงโตเกียว เมื่อปี พ.ศ. 2414 ขณะเมื่ออายุ 18 ปี ได้เข้าทำการศึกษาที่มหาวิทยาลัยโตเกียว ในสาขาปรัชญาศาสตร์ จนสำเร็จการศึกษา เมื่ออายุ 23 ปี ท่านคะโน จิโงะโร เป็นมีความเห็นว่าวิชายิวยิตสูนอกจากจะเป็นกีฬาสำหรับร่างกายและจิตใจแล้ว ยังมีหลักปรัชญาที่ว่าด้วยหลักแห่งความเป็นจริง
เมื่อท่านคะโน จิโงะโรได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิชายิวยิตสูอย่างละเอียดแล้วก็พบว่าผู้ฝึกวิชายิวยิตสูจนมีความชำนาญดีแล้ว จะสามารถสู้กับคนที่รูปร่างใหญ่โตได้ หรือสู้กับคนที่มีอาวุธด้วยมือเปล่าได้ จากการค้นพบทำให้บังเกิดความศรัทธาอย่างแรงกล้า ท่านจึงได้เข้าศึกษายิวยิตสูอย่างจริงจังจากอาจารย์ผู้สอนวิชายิวยิตสูหลายท่านจากโรงเรียนเท็นจิ ชินโย และโรงเรียนคิโตะ ในปี พ.ศ. 2425 ท่านคะโน จิโงะโร อายุได้ 29 ปี ได้ก่อตั้งโรงเรียนสำหรับวิชายูโดขึ้นเป็นครั้งแรกในบริเวณวัดพุทธศาสนา ชื่อวัดเอโชะจิ โดยตั้งชื่อสถาบันนี้ว่า "โคโดกัง ยูโด" โดยได้นำเอาศิลปะของการต่อสู้ด้วยการทุ่มจากสำนักเทนจิ ซิโย และการต่อสู้จากสำนักคิโตเข้ามาผสมผสานเป็นวิชายูโดและได้ปรับปรุงวิธีการยูโดให้เหมาะสม สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในระบอบการปกครองและสังคมในขณะนั้น ได้สอดแทรกวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ คณิตศาสตร์ประยุกต์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว จิตศาสตร์ และจริยศาสตร์เข้าด้วยกัน โดยได้ตัดทอนยิวยิตสู
การแปล กรุณารอสักครู่..