ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว อำเภอพระพุทธบาทประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว ด้วยชาว การแปล - ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว อำเภอพระพุทธบาทประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว ด้วยชาว อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว อำเภอพระพุท

ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว อำเภอพระพุทธบาท
ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว ด้วยชาวพุทธเชื่อกันว่า “พระเขี้ยวแก้ว” (พระทนต์) เป็นฟันของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งในวันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๔ ชาวอำเภอพระพุทธบาทจะอัญเชิญพระ เขี้ยวแก้วจากพิพิธภัณฑ์วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหารออกแห่ฉลองรอบเมือง โดยมีความเชื่อว่า หากมีการแห่พระเขี้ยวแก้วแล้วจะสามารถ บันดาลให้ประชาชนชาวพระพุทธบาทได้รับความร่มเย็นเป็นสุข ทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรืองพระเขี้ยวแก้วคือฟันของพระพุทธเจ้าที่เหลือไว้เป็นปูชนียวัตถุ มี ๔ องค์
๑. ประดิษฐานอยู่ที่จุฬามณีเจดีย์ดาวดึงส์เทวโลก
๒. ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองกาลึงคราษฎร์ ประเทศอินเดีย
๓. ประดิษฐานอยู่ที่ใต้บาดาลอันมีนามว่า นาคพิภพ
๔. ประดิษฐาน อยู่ประเทศลังกา หรือลังกาทวีป ปัจจุบันได้อัญเชิญมาอยู่ที่พระพุทธบาท สระบุรี ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศครองกรุงศรีอยุธยา ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารหลวง โดยอยู่ในวิหารคลังบนในเจดีย์จุฬามณี
กาลเวลาล่วงเลยมาจนถึงปี พ.ศ.๒๔๕๕ ที่เมืองพระพุทธบาท ได้เกิดโรคระบาด ประชาราษฎร์ได้เกิดการเจ็บป่วยล้มตายไป เป็นจำนวนมาก พร้อมทั้งเกิด ทุพภิกขภัย อดอยาก ฝนแล้ง แห้งน้ำ ได้รับความเดือดร้อน เป็นที่ยิ่ง ผู้ปกครองในสมัยนั้นจึงอัญเชิญพระเขี้ยวแก้วจากวิหารคลังบนออกแห่ แล้วเชิญประชาชนร่วมขบวนและถวายน้ำสรงพระเขี้ยวแก้ว เกิดในวันนั้นเอง ได้มีฝนตกกระหน่ำมาอย่างหนัก ทำให้ประชาราษฎร์ และพฤกษชาตินานาพันธุ์ได้รับความชุ่มเย็นอันเกิดจากฝนนั่นเอง จึงได้ปฏิบัติเป็นประเพณีไทยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้เองประชาชนชาวพระพุทธบาทจึงได้สืบทอดประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว เป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๔ เพื่อความร่มเย็นและสงบสุขของชาวพระพุทธบาท
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว อำเภอพระพุทธบาท
ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว ด้วยชาวพุทธเชื่อกันว่า “พระเขี้ยวแก้ว” (พระทนต์) เป็นฟันของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งในวันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๔ ชาวอำเภอพระพุทธบาทจะอัญเชิญพระ เขี้ยวแก้วจากพิพิธภัณฑ์วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหารออกแห่ฉลองรอบเมือง โดยมีความเชื่อว่า หากมีการแห่พระเขี้ยวแก้วแล้วจะสามารถ บันดาลให้ประชาชนชาวพระพุทธบาทได้รับความร่มเย็นเป็นสุข ทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรืองพระเขี้ยวแก้วคือฟันของพระพุทธเจ้าที่เหลือไว้เป็นปูชนียวัตถุ มี ๔ องค์
๑. ประดิษฐานอยู่ที่จุฬามณีเจดีย์ดาวดึงส์เทวโลก
๒. ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองกาลึงคราษฎร์ ประเทศอินเดีย
๓. ประดิษฐานอยู่ที่ใต้บาดาลอันมีนามว่า นาคพิภพ
๔. ประดิษฐาน อยู่ประเทศลังกา หรือลังกาทวีป ปัจจุบันได้อัญเชิญมาอยู่ที่พระพุทธบาท สระบุรี ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศครองกรุงศรีอยุธยา ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารหลวง โดยอยู่ในวิหารคลังบนในเจดีย์จุฬามณี
กาลเวลาล่วงเลยมาจนถึงปี พ.ศ.๒๔๕๕ ที่เมืองพระพุทธบาท ได้เกิดโรคระบาด ประชาราษฎร์ได้เกิดการเจ็บป่วยล้มตายไป เป็นจำนวนมาก พร้อมทั้งเกิด ทุพภิกขภัย อดอยาก ฝนแล้ง แห้งน้ำ ได้รับความเดือดร้อน เป็นที่ยิ่ง ผู้ปกครองในสมัยนั้นจึงอัญเชิญพระเขี้ยวแก้วจากวิหารคลังบนออกแห่ แล้วเชิญประชาชนร่วมขบวนและถวายน้ำสรงพระเขี้ยวแก้ว เกิดในวันนั้นเอง ได้มีฝนตกกระหน่ำมาอย่างหนัก ทำให้ประชาราษฎร์ และพฤกษชาตินานาพันธุ์ได้รับความชุ่มเย็นอันเกิดจากฝนนั่นเอง จึงได้ปฏิบัติเป็นประเพณีไทยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้เองประชาชนชาวพระพุทธบาทจึงได้สืบทอดประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว เป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๔ เพื่อความร่มเย็นและสงบสุขของชาวพระพุทธบาท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว อำเภอพระพุทธบาท
ประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว ด้วยชาวพุทธเชื่อกันว่า “พระเขี้ยวแก้ว” (พระทนต์) เป็นฟันของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งในวันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๔ ชาวอำเภอพระพุทธบาทจะอัญเชิญพระ เขี้ยวแก้วจากพิพิธภัณฑ์วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหารออกแห่ฉลองรอบเมือง โดยมีความเชื่อว่า หากมีการแห่พระเขี้ยวแก้วแล้วจะสามารถ บันดาลให้ประชาชนชาวพระพุทธบาทได้รับความร่มเย็นเป็นสุข ทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรืองพระเขี้ยวแก้วคือฟันของพระพุทธเจ้าที่เหลือไว้เป็นปูชนียวัตถุ มี ๔ องค์
๑. ประดิษฐานอยู่ที่จุฬามณีเจดีย์ดาวดึงส์เทวโลก
๒. ประดิษฐานอยู่ ณ เมืองกาลึงคราษฎร์ ประเทศอินเดีย
๓. ประดิษฐานอยู่ที่ใต้บาดาลอันมีนามว่า นาคพิภพ
๔. ประดิษฐาน อยู่ประเทศลังกา หรือลังกาทวีป ปัจจุบันได้อัญเชิญมาอยู่ที่พระพุทธบาท สระบุรี ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศครองกรุงศรีอยุธยา ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารหลวง โดยอยู่ในวิหารคลังบนในเจดีย์จุฬามณี
กาลเวลาล่วงเลยมาจนถึงปี พ.ศ.๒๔๕๕ ที่เมืองพระพุทธบาท ได้เกิดโรคระบาด ประชาราษฎร์ได้เกิดการเจ็บป่วยล้มตายไป เป็นจำนวนมาก พร้อมทั้งเกิด ทุพภิกขภัย อดอยาก ฝนแล้ง แห้งน้ำ ได้รับความเดือดร้อน เป็นที่ยิ่ง ผู้ปกครองในสมัยนั้นจึงอัญเชิญพระเขี้ยวแก้วจากวิหารคลังบนออกแห่ แล้วเชิญประชาชนร่วมขบวนและถวายน้ำสรงพระเขี้ยวแก้ว เกิดในวันนั้นเอง ได้มีฝนตกกระหน่ำมาอย่างหนัก ทำให้ประชาราษฎร์ และพฤกษชาตินานาพันธุ์ได้รับความชุ่มเย็นอันเกิดจากฝนนั่นเอง จึงได้ปฏิบัติเป็นประเพณีไทยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้เองประชาชนชาวพระพุทธบาทจึงได้สืบทอดประเพณีแห่พระเขี้ยวแก้ว เป็นประจำทุกปี ในวันขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๔ เพื่อความร่มเย็นและสงบสุขของชาวพระพุทธบาท
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The tradition of the fangs, the Phra phutthabat
.The tradition of the fangs with Buddhists believed that "the fangs" (the tooth) of milk teeth. Buddha, which in a day. One night the moon 4 the Phra phutthabat to summon priest.The belief that if they are of the fangs and can. Inspire people of Buddha received welfare. Trade flourished the Fangs Teeth of the Buddha is left a sacred object. There are four o
.1. The chulamani chedi enshrined Sam Heaven
2. Is enshrined at the time, the city beneath the ษฎร์ India
3. Enshrined under the groundwater อันมีนา m. Naga world
4.In country or continent Lanka exercises. At present, brought in the Buddha. Activity, since the king of Armenia dominate the Ayutthaya. Enshrined in the Luang. By staying in the temple treasury on the pagoda chulamani
.Time has come after the yearGood 2012 at the city of the Buddha, the epidemic, the masses have illness died. เป็นจำนวนมาก and caused famine starve. Drought dry water suffered is even more.And invited the people join and give water to bathe the fangs, born on that day, rain hit the หน่ำมา hard, make masses. Botanical Varieties and the moist, cool due to rain.For this reason, the people of the Buddha has inherited the tradition of the fangs. Every year on the day of the new moon, month 7 4 to peace and peaceful of the Buddha
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: