การบริโภคอาหารที่เหมาะสมตามวัย ช่วยป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไ การแปล - การบริโภคอาหารที่เหมาะสมตามวัย ช่วยป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังไ อังกฤษ วิธีการพูด

การบริโภคอาหารที่เหมาะสมตามวัย ช่วย

การบริโภคอาหารที่เหมาะสมตามวัย ช่วยป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้แต่ก็ยังขาดการดำเนินงานที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต การวิจัยกึ่งทดลองนี้จึงศึกษาผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิตของผู้ที่มีภาวะโภชนาการเกิน อายุ 35-59 ปี ประยุกต์แนวคิดการกำกับตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างจำนวน 70 คน กลุ่มทดลอง 35 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 35 คน ระยะเวลาศึกษา 9 สัปดาห์ ทำการเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิต แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเกิน และการประเมินสัดส่วนร่างกาย ใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent sample t-test และ Pair sample t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย และรอบเอวลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบมีรอบเอวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเกินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิตที่เหมาะสมของกลุ่มทดลองเพิ่มขึ้นในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบลดลงแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิตที่ประยุกต์แนวคิดการกำกับตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม อาจป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ดังนั้นหน่วยงานด้านสุขภาพสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อไป ข้อเสนอแนะการศึกษาครั้งนี้คือ ในการเยี่ยมบ้านโดยอาสาสมัครสาธารณสุขอาจปรับความถี่ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ และควรมีการติดตามผลการคงอยู่ของพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
คำสำคัญ: พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การกำกับตนเอง, แรงสนับสนุนทางสังคม
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การบริโภคอาหารที่เหมาะสมตามวัย ช่วยป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้แต่ก็ยังขาดการดำเนินงานที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต การวิจัยกึ่งทดลองนี้จึงศึกษาผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิตของผู้ที่มีภาวะโภชนาการเกิน อายุ 35-59 ปี ประยุกต์แนวคิดการกำกับตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างจำนวน 70 คน กลุ่มทดลอง 35 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 35 คน ระยะเวลาศึกษา 9 สัปดาห์ ทำการเก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิต แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเกิน และการประเมินสัดส่วนร่างกาย ใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent sample t-test และ Pair sample t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกาย และรอบเอวลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบมีรอบเอวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเกินเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิตที่เหมาะสมของกลุ่มทดลองเพิ่มขึ้นในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบลดลงแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามวิถีชีวิตที่ประยุกต์แนวคิดการกำกับตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม อาจป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ดังนั้นหน่วยงานด้านสุขภาพสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อไป ข้อเสนอแนะการศึกษาครั้งนี้คือ ในการเยี่ยมบ้านโดยอาสาสมัครสาธารณสุขอาจปรับความถี่ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ และควรมีการติดตามผลการคงอยู่ของพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไปคำสำคัญ: พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การกำกับตนเอง, แรงสนับสนุนทางสังคม
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Dietary intake of appropriate age. Prevention of chronic non-communicable diseases, but still a lack of a consistent way of life. This experimental research has studied the effect of dietary self-directed behavior followed the lives of those who are overweight, age 35-59 years, with the application of the concept of self-directed social support. A sample of 70 students in the experimental group and the control group of 35 people, 35 people, 9-week study period were collected before and after treatment using a behavioral dietary lifestyle. Assessment of knowledge about nutrition too. And assessment of body composition Use mean Standard deviation Independent sample t-test and Pair sample t-test results showed that. After the treatment group had an average body mass index. And waist circumference decreased significantly statistically. The comparison group had waistline as statistically significant. Group had knowledge of overweight increased very significantly. Dietary habits, lifestyle fitting of the experimental group increased while the control group decreased significantly different statistically. The modification of lifestyle, dietary habits Application of self-directed with social support. May prevent chronic non-communicable diseases. The health authorities can be applied to achieve change dietary habits and reduce the incidence of non-communicable diseases continue. Recommendations of this study is. In home visits by volunteers, as appropriate, may adjust the frequency of the area. And there should be regular monitoring of the existence of dietary habits in order to achieve a sustainable
Keywords: dietary habits, self-direction, and social support.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Food consumption according to age. To help prevent chronic disease, but also the lack of operation in accordance with the way of life.Age 35-59 years. Application of the self-regulation and social support, a sample of 70. The experimental group and the comparison group 35 35 people. Duration of study 9 week.Assessment of knowledge about nutrition beyond. Evaluation of body composition and the sample mean, standard deviation and Independent sample t-test Pair sample t-test findings. After the experimental group, the average body mass index).The comparison group with waist circumference were significantly increased. The experimental group had knowledge of overnutrition increases significantly.Conclusion behavioral modification by way of applying concept self-regulation together with social support. May prevent chronic non-communicable diseases.Suggestion study. In home visits by health volunteers may adjust the frequency according to the topic of each area.Key words: food consumption behavior, self-regulation, and social support.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: