2 การแต่งกาย เครื่องประดับ และการทอผ้าของชาวไทยกะเหรี่ยง2.1 การแต่งกาย การแปล - 2 การแต่งกาย เครื่องประดับ และการทอผ้าของชาวไทยกะเหรี่ยง2.1 การแต่งกาย อังกฤษ วิธีการพูด

2 การแต่งกาย เครื่องประดับ และการทอ

2 การแต่งกาย เครื่องประดับ และการทอผ้าของชาวไทยกะเหรี่ยง

2.1 การแต่งกาย

เสื้อผ้าใช้ผ้าทอมือเพื่อใส่ร่วมงานสำคัญ ๆ ในงานประเพณี ผู้หญิงจะเป็นชุดทรงกระสอบสีดำ และสีน้ำเงิน มีลวดลายเป็นสัญลักษณ์ที่ตัวเสื้อ ถ้าเป็นเด็กที่ยังไม่มีประจำเดือนจะใส่เสื้อสีขาว (ไซ่อั่ว) ตัวเดียวกัน ปักริมขอบ คอเสื้อ แขน และชายเสื้อด้วยด้ายสีแดงจนถึงวัยรุ่นคืออายุประมาณ ๑๔ – ๑๕ ปีขึ้นไปหรือเมื่อเด็กสาวมีประจำเดือน เด็กสาวจะเปลี่ยนนุ่งผ้าซิ่น (นิไค๊ย) แล้วใส่เสื้อแบบกะเหรี่ยง (ไซ่โผล่ง) คือสวมเสื้อคอแหลมสีดำหรือสีน้ำเงิน ปักด้วยด้ายสีเป็นลวดลายต่าง ๆ เสื้อสวมทางศีรษะและเย็บตัวพอดี ตัวเสื้อยาวคลุมเลยเข่า
ลักษณะการแต่งกายเด็กหญิงที่ไม่มีประจำเดือนณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔สิงหาคม ๒๕๕๗
ลักษณะการแต่งกายเด็กสาวที่มีประจำเดือนแล้วณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔สิงหาคม ๒๕๕๗

เสื้อของหญิงสาวที่มีครอบครัวจะทอด้วยสีดำหรือสีน้ำเงินเป็นพื้น แล้วปักด้วยด้ายสีต่าง ๆ เฉพาะตรงกึ่งกลางรอบอกปักเป็นช่องสี่เหลี่ยมบรรจุลายดอกดวงนับเป็นเอกลักษณ์ทางเผ่าพันธุ์ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและลวดลายเลย ส่วนผ้าซิ่นทอมือเป็นลวดลายสีเหลืองเข้ม ชายผ้าซิ่นยกลายดอก
นอกจากนี้ยังมีการแต่งกายอีกรูปแบบหนึ่งของกลุ่มไทยกะเหรี่ยงรุ่นหลังสุด ผู้ชายจะใส่ผ้าทอมือทรงกระสอบสีแดงและสีน้ำเงิน โดยจะใส่ทับเสื้อเชิ้ตสีขาว และกางเกงขายาว ผู้หญิงจะมีทั้งใส่เสื้อทรงกระสอบยาวเลยน่องลงมา และเสื้อแบบตัวสั้นจะใส่กับผ้าซิ่นทอมือที่มีสีสันมากกว่าฝ่ายชาย

ลักษณะการแต่งกายของไทยกะเหรี่ยงในงานประเพณีกินข้าวห่อณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๗

๒. ๒. ทรงผมของไทยกะเหรี่ยงเผ่าโปว์รุ่นเดิม
หญิงมักนิยมไว้ผมยาวแล้วม้วนทำเป็นมวยต่ำไว้ข้างหลัง บางคนจะมีผ้าพันรอบศีรษะและขมวดให้ยื่นยาวออกมาด้านหน้าด้วย เป็นสีต่าง ๆ ยกเว้นสีดำที่พบเป็นส่วนมากจะนิยมโพกด้วยผ้าขาว การโพกผ้าของผู้ชายจะต่างกับผู้หญิงคือ จะโพกผ้ามาเหน็บชายผ้าไว้ทางด้านหน้า ส่วนผู้หญิงจะเหน็บชายไว้ทางด้านหลัง
ลักษณะมวยผมของหญิงไทยกะเหรี่ยง
ภาพถ่าย ณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคาวันที่ ๔สิงหาคม ๒๕๕๗
ลักษณะการโพกผ้าของชายไทยกะเหรี่ยง
ภาพถ่าย ณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๗

ชายกะเหรี่ยงโปนั้นไว้ผมยาวโพกผ้าพันเป็นยอดแหลม ยาวออกมาตรงหน้าผากดูคล้ายงวงช้าง นุ่งโจงกระเบนหรือกางเกง สวมเสื้อสีดำมีกระดุมมาอย่างเสื้อลาวโซ่ง ปัจจุบันตัดผมสั้นแล้ว แต่เมื่อต้องแต่งตามเอกลักษณ์เดิม ๆ ก็ทำเป็นงวงเทียมติดตรงหน้าผาก
เรื่องโพกผ้าพันเป็นงวงช้างนี้ เมื่อก่อนยังเป็นเครื่องหมายสังเกตได้ว่า ถ้าเป็นโสดจะโพกผ้าสีแดง สีเขียว สีเหลืองหลากสี ถ้ามีภรรยาแล้วจะใช้ผ้าโพกสีขาวหรือสีดำล้วน เวลาแต่งไปงานบุญหรืองานรื่นเริง ก็จะใช้ผ้าหลากสีสลับกัน แล้วใช้ดอกไม้ใบไม้ประดับอีกด้วยจนเต็มศีรษะ

ชุดแต่งกายของชายไทยกะเหรี่ยงที่สวมผ้าโพกงวงช้าง (เทียม

นอกจากนี้ ทั้งผู้หญิงและผู้ชายยังนิยมการสักร่างกายด้วยหมึกสีดำ การสักนี้เท่าที่พบเห็น มักจะสักบริเวณข้อมือ หัวไหล่ทั้งสองข้าง หน้าผาก และกลางกระหม่อมเป็นยันต์ป้องกันงูกัด ส่วนการสักอย่างอื่นก็มีบ้าง ส่วนใหญ่ผู้ชายมีสักบริเวณแผ่นหลังทั้งหมด เป็นยันต์และเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ

๒. ๓. เครื่องประดับ
สำหรับเครื่องประดับคนกะเหรี่ยงนิยมเงินแท้ เช่น สร้อยคอ (จี่พริ่ย) ตุ้มหู (กรก) กำไล (ไถ้) เป็นต้น สร้อยคอมีลักษณะคล้ายเงินพดด้วง มีส่วนปลายยอดชิดติดกัน เว้นส่วนกลางสำหรับร้อยด้าย สร้อยคอชนิดนี้ผู้หญิงกะเหรี่ยงยังนิยมสวมกำไลเงินที่มีลักษณะคล้ายตัวหนอนงอเข้าหากัน ปลายทั้งสองข้างแหลม มีช่องห่างสามารถสวมได้พอดีข้อมือ
ในปัจจุบันนี้ เครื่องแต่งกายยังคงเหมือนเดิม ไม่นิยมใส่ทุกวันจะใส่เฉพาะในประเพณีสำคัญเท่านั้น เช่น ประเพณีเรียกขวัญกินข้าวห่อ, ประเพณีการนมัสการหลวงพ่อนวม, ประเพณีก่อพระทรายเวียนเจดีย์ และพิธีแต่งงาน ในขณะที่ชายชาวกะเหรี่ยงจะไม่มีการสืบทอดวัฒนธรรมการแต่งกายจึงเป็นสาเหตุทำให้วัฒนธรรมการแต่งกายของชาวะเหรี่ยงมีการสืบทอดน้อยลง
ขั้นตอนการแต่งกาย
ผู้หญิงวัยเยาว์ (ที่ยังไม่มีประจำเดือน)
๑. สวมเสื้อทรงกระสอบยาว
ผู้หญิง (ที่มีประจำเดือนหรือมีครอบครัวแล้ว)
๑. ใส่ผ้าถุง (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า นึ่ย) พับไปด้านซ้ายหรือด้านขวาก็ได้ตามถนัด
๒. ใส่เข็มขัดเงินทับหัวผ้าถุง (นึ่ย) ให้พอดีไม่แน่นเกินไป
๓. สวมเสื้อ (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ไช่) จัดให้เข้ารูป
๔. จัดแต่งทรงผมให้สวยงาม จะปั้นเกล้าหรือปล่อยก็ได้
๕. ใส่เครื่องประดับตกแต่งตามความเหมาะสม
ผู้ชาย (ทั้งเด็กและผู้ใหญ่)
๑. ใช้ผ้าม่วงผืนยาว ไม่เย็บติดกันเป็นถุง คลี่ออกโอบตัว ดึงปลายให้เสมอกัน
๒. จับผ้าบริเวณใกล้เอวขมวดเกี้ยวกันไว้เป็นชายพกแล้วเหน็บให้แน่น
๓. จับปลายที่เหลือม้วนเข้าด้วยกัน
๔. พันเป็นเกลียวลงด้านล่างจนเป็นแท่ง เรียกว่า ชายกระเบน
๕. จับลอดขาไปเหน็บปลายไว้ด้านหลัง
๖. นำเข็มขัดเงินมารัดไว้ที่หัวโจงกระเบน
๗. สวมเสื้อม่อฮ่อม (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ขึนชั่ง) จัดให้เข้ารูป
๒. ๔. การทอผ้า
รูปแบบการทอผ้าแบบกะเหรี่ยงเดิมในแต่ละท้องถิ่นใช้เครื่องทอผ้าแบบสายคาดหลัง เนื่องจากมีโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน ในบางที่เท่านั้นที่มีการส่งเสริมการทอผ้าแบบกี่กระตุก เครื่องทอแบบสายคาดหลังเป็นเครื่องทอผ้าแบบโบราณ
การทอผ้าเป็นวัฒนธรรมที่เก่าแก่ดั้งเดิมอย่างหนึ่งของกะเหรี่ยง กะเหรี่ยงทอผ้าใช้เองในครอบครัวมาเป็นเวลานานแล้ว กรรมวิธีการทอผ้าของกะเหรี่ยงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ ได้แก่
๑. กี่ทอผ้า (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ม่าท้ะ)
๒. ไม้ลวก, ไม้มะเกลือ
๓. ด้ายสี
๔. ที่รัดเอาหนังวัว (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ยาก่องผัย)
๕. ที่เหยียดขา (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ดั้งยอง)
สีที่ใช้ย้อมเส้นด้ายนั้นเป็นสีที่ได้มาจากธรรมชาติที่ได้มาจากการนำราก ลำต้น เปลือก ใบ เมล็ด ของต้นไม้มาต้มย้อมเป็นสีต่าง ๆ เช่น เปลือกไม้สัก ไม้แดง ไม้ประดู่ ฯลฯ มักหาได้ตามป่าหรือในที่ห่างไกลจากที่อยู่อาศัย ผู้ชายเป็นคนที่หามาให้ ส่วนต้นไม้ใช้ย้อมสีเป็นต้นเล็ก ๆ เช่น ต้นคราม ต้นแสด หรือเงาะป่า ฯลฯ ก็จะปลูกบริเวณใกล้ ๆ บ้าน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2 การแต่งกาย เครื่องประดับ และการทอผ้าของชาวไทยกะเหรี่ยง2.1 การแต่งกาย เสื้อผ้าใช้ผ้าทอมือเพื่อใส่ร่วมงานสำคัญ ๆ ในงานประเพณี ผู้หญิงจะเป็นชุดทรงกระสอบสีดำ และสีน้ำเงิน มีลวดลายเป็นสัญลักษณ์ที่ตัวเสื้อ ถ้าเป็นเด็กที่ยังไม่มีประจำเดือนจะใส่เสื้อสีขาว (ไซ่อั่ว) ตัวเดียวกัน ปักริมขอบ คอเสื้อ แขน และชายเสื้อด้วยด้ายสีแดงจนถึงวัยรุ่นคืออายุประมาณ ๑๔ – ๑๕ ปีขึ้นไปหรือเมื่อเด็กสาวมีประจำเดือน เด็กสาวจะเปลี่ยนนุ่งผ้าซิ่น (นิไค๊ย) แล้วใส่เสื้อแบบกะเหรี่ยง (ไซ่โผล่ง) คือสวมเสื้อคอแหลมสีดำหรือสีน้ำเงิน ปักด้วยด้ายสีเป็นลวดลายต่าง ๆ เสื้อสวมทางศีรษะและเย็บตัวพอดี ตัวเสื้อยาวคลุมเลยเข่าลักษณะการแต่งกายเด็กหญิงที่ไม่มีประจำเดือนณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔สิงหาคม ๒๕๕๗ลักษณะการแต่งกายเด็กสาวที่มีประจำเดือนแล้วณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔สิงหาคม ๒๕๕๗ เสื้อของหญิงสาวที่มีครอบครัวจะทอด้วยสีดำหรือสีน้ำเงินเป็นพื้น แล้วปักด้วยด้ายสีต่าง ๆ เฉพาะตรงกึ่งกลางรอบอกปักเป็นช่องสี่เหลี่ยมบรรจุลายดอกดวงนับเป็นเอกลักษณ์ทางเผ่าพันธุ์ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและลวดลายเลย ส่วนผ้าซิ่นทอมือเป็นลวดลายสีเหลืองเข้ม ชายผ้าซิ่นยกลายดอกนอกจากนี้ยังมีการแต่งกายอีกรูปแบบหนึ่งของกลุ่มไทยกะเหรี่ยงรุ่นหลังสุด ผู้ชายจะใส่ผ้าทอมือทรงกระสอบสีแดงและสีน้ำเงิน โดยจะใส่ทับเสื้อเชิ้ตสีขาว และกางเกงขายาว ผู้หญิงจะมีทั้งใส่เสื้อทรงกระสอบยาวเลยน่องลงมา และเสื้อแบบตัวสั้นจะใส่กับผ้าซิ่นทอมือที่มีสีสันมากกว่าฝ่ายชายลักษณะการแต่งกายของไทยกะเหรี่ยงในงานประเพณีกินข้าวห่อณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๗๒. ๒. ทรงผมของไทยกะเหรี่ยงเผ่าโปว์รุ่นเดิม หญิงมักนิยมไว้ผมยาวแล้วม้วนทำเป็นมวยต่ำไว้ข้างหลัง บางคนจะมีผ้าพันรอบศีรษะและขมวดให้ยื่นยาวออกมาด้านหน้าด้วย เป็นสีต่าง ๆ ยกเว้นสีดำที่พบเป็นส่วนมากจะนิยมโพกด้วยผ้าขาว การโพกผ้าของผู้ชายจะต่างกับผู้หญิงคือ จะโพกผ้ามาเหน็บชายผ้าไว้ทางด้านหน้า ส่วนผู้หญิงจะเหน็บชายไว้ทางด้านหลังลักษณะมวยผมของหญิงไทยกะเหรี่ยงภาพถ่าย ณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคาวันที่ ๔สิงหาคม ๒๕๕๗ลักษณะการโพกผ้าของชายไทยกะเหรี่ยงภาพถ่าย ณ บ้านโป่งกระทิงบน อำเภอบ้านคา วันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ชายกะเหรี่ยงโปนั้นไว้ผมยาวโพกผ้าพันเป็นยอดแหลม ยาวออกมาตรงหน้าผากดูคล้ายงวงช้าง นุ่งโจงกระเบนหรือกางเกง สวมเสื้อสีดำมีกระดุมมาอย่างเสื้อลาวโซ่ง ปัจจุบันตัดผมสั้นแล้ว แต่เมื่อต้องแต่งตามเอกลักษณ์เดิม ๆ ก็ทำเป็นงวงเทียมติดตรงหน้าผาก เรื่องโพกผ้าพันเป็นงวงช้างนี้ เมื่อก่อนยังเป็นเครื่องหมายสังเกตได้ว่า ถ้าเป็นโสดจะโพกผ้าสีแดง สีเขียว สีเหลืองหลากสี ถ้ามีภรรยาแล้วจะใช้ผ้าโพกสีขาวหรือสีดำล้วน เวลาแต่งไปงานบุญหรืองานรื่นเริง ก็จะใช้ผ้าหลากสีสลับกัน แล้วใช้ดอกไม้ใบไม้ประดับอีกด้วยจนเต็มศีรษะ

ชุดแต่งกายของชายไทยกะเหรี่ยงที่สวมผ้าโพกงวงช้าง (เทียม

นอกจากนี้ ทั้งผู้หญิงและผู้ชายยังนิยมการสักร่างกายด้วยหมึกสีดำ การสักนี้เท่าที่พบเห็น มักจะสักบริเวณข้อมือ หัวไหล่ทั้งสองข้าง หน้าผาก และกลางกระหม่อมเป็นยันต์ป้องกันงูกัด ส่วนการสักอย่างอื่นก็มีบ้าง ส่วนใหญ่ผู้ชายมีสักบริเวณแผ่นหลังทั้งหมด เป็นยันต์และเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ

๒. ๓. เครื่องประดับ
สำหรับเครื่องประดับคนกะเหรี่ยงนิยมเงินแท้ เช่น สร้อยคอ (จี่พริ่ย) ตุ้มหู (กรก) กำไล (ไถ้) เป็นต้น สร้อยคอมีลักษณะคล้ายเงินพดด้วง มีส่วนปลายยอดชิดติดกัน เว้นส่วนกลางสำหรับร้อยด้าย สร้อยคอชนิดนี้ผู้หญิงกะเหรี่ยงยังนิยมสวมกำไลเงินที่มีลักษณะคล้ายตัวหนอนงอเข้าหากัน ปลายทั้งสองข้างแหลม มีช่องห่างสามารถสวมได้พอดีข้อมือ
ในปัจจุบันนี้ เครื่องแต่งกายยังคงเหมือนเดิม ไม่นิยมใส่ทุกวันจะใส่เฉพาะในประเพณีสำคัญเท่านั้น เช่น ประเพณีเรียกขวัญกินข้าวห่อ, ประเพณีการนมัสการหลวงพ่อนวม, ประเพณีก่อพระทรายเวียนเจดีย์ และพิธีแต่งงาน ในขณะที่ชายชาวกะเหรี่ยงจะไม่มีการสืบทอดวัฒนธรรมการแต่งกายจึงเป็นสาเหตุทำให้วัฒนธรรมการแต่งกายของชาวะเหรี่ยงมีการสืบทอดน้อยลง
ขั้นตอนการแต่งกาย
ผู้หญิงวัยเยาว์ (ที่ยังไม่มีประจำเดือน)
๑. สวมเสื้อทรงกระสอบยาว
ผู้หญิง (ที่มีประจำเดือนหรือมีครอบครัวแล้ว)
๑. ใส่ผ้าถุง (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า นึ่ย) พับไปด้านซ้ายหรือด้านขวาก็ได้ตามถนัด
๒. ใส่เข็มขัดเงินทับหัวผ้าถุง (นึ่ย) ให้พอดีไม่แน่นเกินไป
๓. สวมเสื้อ (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ไช่) จัดให้เข้ารูป
๔. จัดแต่งทรงผมให้สวยงาม จะปั้นเกล้าหรือปล่อยก็ได้
๕. ใส่เครื่องประดับตกแต่งตามความเหมาะสม
ผู้ชาย (ทั้งเด็กและผู้ใหญ่)
๑. ใช้ผ้าม่วงผืนยาว ไม่เย็บติดกันเป็นถุง คลี่ออกโอบตัว ดึงปลายให้เสมอกัน
๒. จับผ้าบริเวณใกล้เอวขมวดเกี้ยวกันไว้เป็นชายพกแล้วเหน็บให้แน่น
๓. จับปลายที่เหลือม้วนเข้าด้วยกัน
๔. พันเป็นเกลียวลงด้านล่างจนเป็นแท่ง เรียกว่า ชายกระเบน
๕. จับลอดขาไปเหน็บปลายไว้ด้านหลัง
๖. นำเข็มขัดเงินมารัดไว้ที่หัวโจงกระเบน
๗. สวมเสื้อม่อฮ่อม (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ขึนชั่ง) จัดให้เข้ารูป
๒. ๔. การทอผ้า
รูปแบบการทอผ้าแบบกะเหรี่ยงเดิมในแต่ละท้องถิ่นใช้เครื่องทอผ้าแบบสายคาดหลัง เนื่องจากมีโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน ในบางที่เท่านั้นที่มีการส่งเสริมการทอผ้าแบบกี่กระตุก เครื่องทอแบบสายคาดหลังเป็นเครื่องทอผ้าแบบโบราณ
การทอผ้าเป็นวัฒนธรรมที่เก่าแก่ดั้งเดิมอย่างหนึ่งของกะเหรี่ยง กะเหรี่ยงทอผ้าใช้เองในครอบครัวมาเป็นเวลานานแล้ว กรรมวิธีการทอผ้าของกะเหรี่ยงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ ได้แก่
๑. กี่ทอผ้า (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ม่าท้ะ)
๒. ไม้ลวก, ไม้มะเกลือ
๓. ด้ายสี
๔. ที่รัดเอาหนังวัว (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ยาก่องผัย)
๕. ที่เหยียดขา (ภาษากะเหรี่ยง เรียกว่า ดั้งยอง)
สีที่ใช้ย้อมเส้นด้ายนั้นเป็นสีที่ได้มาจากธรรมชาติที่ได้มาจากการนำราก ลำต้น เปลือก ใบ เมล็ด ของต้นไม้มาต้มย้อมเป็นสีต่าง ๆ เช่น เปลือกไม้สัก ไม้แดง ไม้ประดู่ ฯลฯ มักหาได้ตามป่าหรือในที่ห่างไกลจากที่อยู่อาศัย ผู้ชายเป็นคนที่หามาให้ ส่วนต้นไม้ใช้ย้อมสีเป็นต้นเล็ก ๆ เช่น ต้นคราม ต้นแสด หรือเงาะป่า ฯลฯ ก็จะปลูกบริเวณใกล้ ๆ บ้าน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2 The costume jewelry Thailand Karen and weaving of 2.1. The costume clothing cloth to put together the most important events in the festival is set for the sack of black and blue patterned shirt as a symbol. If the child was not wearing the white period (The site Borgnine), the same lace collar, sleeves and hem the edges with red thread to adult is aged about 14-15 years or when the girl menstruation. She will wear a sarong (New Pastels) and then put the shirt Karen (Pearl S. Buck popped d) is wearing a V-shaped black or blue. Embroidery thread color pattern of the head and sew a sweatshirt fit. He is dressed in a long coat dress style girl at no period. Bull Ban Pong on a date August 4, 2557 style dress as girls who are menstruating, then. Bull Ban Pong on August 4, 2557 at the shirt of a girl whose family is woven with black or blue background. Then embroidered with colored thread embroidery round the center of the box is filled with flower's identity is a species that does not change my patterns and designs. The sarong is hand woven, patterned yellow. Male sarong with a flower also has a dress and one of Thailand Karen latest version. Men will wear sack cloth made ​​of red and blue. The worn white shirt. And pants Both women are wearing down his sack of long stockings. And a short jacket is worn with a sarong, hand woven colorful than the male dressing style of Karen in Thailand rice wrapped in tradition. Bull Ban Pong on a date August 4, 2557 2. 2. haircut, Thailand Pwo Karen tribe, the original version of the popular women tend to have long hair and roll into a low bun behind. Some will have a scarf tied around his head and a long standing out front with different colors, except black is most commonly found in white cloth turban. The turbans of men are different from women. Comes beriberi turban cloth on the front. Women are beriberi and the back hair of the woman Thailand Karen looks at photos on Bull Pong. Ban Kha on August 4, 2557 The man's turban Thailand Karen photos at Ban Pong Bull on a date August 4, 2557 , Karen Poe, the man has long hair, turbans thousand spiers. Long out of my forehead looked like a trunk. Wear a loincloth or trousers Wearing a black shirt with buttons like Lao. Current short haircut But when the author was made ​​based on the unique artificial proboscis attached to the forehead of the trunk is wrapped turbans. As before, there is a notice that. If you are single, turbans, red, green, yellow color. If a wife to take the turban white or all black. Took me to a religious ceremony or festival. It is used multicolored fabric switch. Then the flowers adorned with a full head dress of a man wearing a turban Thailand Karen Clary. (Artificial addition Both women and men to prefer a body with black ink. Tattoos are seen as Often wrist tattoo The shoulder on both sides of the forehead and the crown as a talisman to prevent snake bites. Otherwise it is a part of it. Most men have a whole back area. Talisman and is a different animal 2. 3. Jewelry for popular silver jewelry such as necklaces, Karen (Jinan Aprilia) and earrings (July), bracelets (plowing) or Bullet silver necklace resembles. The apex contiguously. Leave the central thread This necklace Karen women to wear silver bracelets that resemble maggots bent toward each other. Pointed at both ends A gap can fit a wrist today. Clothing remains the same. Do not wear it every day to enter in tradition, such as the traditional rice wrapped gifts, the tradition of quilt worship pastor, traditionally frequented his sand pagoda. And wedding ceremonies While male Karen is not cultural dress is the dress of tea culture inspired Karen has inherited fewer steps to dress a young woman. (No period) 1. He wore a long sack women (Menstruation, or have a family) 1. Enter sarong (Karen called one) is folded to the left or right as dominant second. Enter a money belt bag over his head (one) and fit is not too tight 3. Cloaking (Karen called Tsai) to form four. Beautiful styling To mold the skull or leave it five. Wear appropriate dress men. (Adults and children) one. Long piece of purple cloth The bag is sewn together Unroll the wrapping Pull the ends to tie two. Around the waist knit fabric handle courtship and then tuck it firmly as men carry the three. Catch the rest roll with four. Thousands spiral downward until the end of the rolled part of loincloth tucked at the back stick handle through 5. Tuck the ends of the legs to the back six. Bring a money belt to tie at the head loincloth 7. Wear Meaฮeam (Karen called up by weight) to form 2. 4. weaving patterns in the local Karen weaving loom using a back strap. Since there are no complicated structure Some are only in the promotion of the weaving loom. Machine woven belt after a traditional loom weaving is an ancient traditional culture of the Karen. Karen Weaver family used to own a long time ago. Karen process of weaving is interesting devices required include : 1. loom (Karen called pan) 2. Not casually, ebony colored thread 3. 4. The band took the cow. (Karen called drug Kong's touch) 5. leg (called dan Karen Young) colors used to dye yarn is derived from naturally derived from the roots, stems, leaves, seeds, bark of trees to boil. dyed different colors such as teak, redwood bark, wood, etc., tend to find in the forests or far away from the residence. I was looking for. The tree is so small like indigo dyed reddish or Negrito origin, etc. It is planted near the house.























































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2 costumes, jewelry and weaving of the Thai Karen

2.1 dressing

.Used clothing fabric hand to put the work important. Traditional women are set his sack black and blue, the pattern is a symbol of the shirt. If a child has no menses will wear a white blouse (SAI อั่ว) the same.Collar, arms and men's shirts with red thread to adolescent is around the age of 14 - 15 years or when the girl menstruation. The girl turns to wear sarong (Ni) and wears a ไค๊ย Karen (SAI appeared).Embroidery thread color patterns with various clothes to wear the head and sewing the fit shirt long enough so เข่า
.No girl dress style period at Bull on Pong ban Kha District date 4 on July 2014
style dress girl with period then. Ban Pong bull on ban Kha district on 4 August 2014

.The girl with the family coat of black or blue is woven and embroidered with a thread of various colors.The sarong hand-woven patterned dark yellow. A resin flower night, you
.There is also another form of dress, Karen generation Thai group. A man will put the fabric hand hath sack of red and blue. By put on a white shirt and trousers.Shirt and short body is worn with a sarong hand woven colorful than the man
.
dress style of traditional eating at Karen wrapped banpong bull on ban Kha district on 4 August 2014

2. 2. The hairstyle of Karen tribe Po. The original version
.Girls always popular with long hair and roll pretend boxing low behind. Some people will be cloth wrapped around the head and the loop to grow longer in front, as the various colors except black was most popular headbands with white cloth.Will a scarf to tuck a on the front. The woman will form you behind!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: