การจัดการความรู้กับพฤติกรรมองค์การ  โดย อาจารย์อรวรรณ น้อยวัฒน์  การจั การแปล - การจัดการความรู้กับพฤติกรรมองค์การ  โดย อาจารย์อรวรรณ น้อยวัฒน์  การจั อังกฤษ วิธีการพูด

การจัดการความรู้กับพฤติกรรมองค์การ

การจัดการความรู้กับพฤติกรรมองค์การ

โดย อาจารย์อรวรรณ น้อยวัฒน์

การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือที่หลายหน่วยงานใช้ในการพัฒนาองค์การ การที่จะทำให้องค์การก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมีเอกภาพหรือการก้าวไปด้วยกันนั้น จำเป็นต้องมีการพัฒนาคนในองค์การให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับกับทิศทางและเป้าหมายขององค์การ ซึ่งการจัดการความรู้ (KM) ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การนี้ จะช่วยพัฒนาบุคคล กลุ่มคน และองค์การในการสร้างความรู้ความเข้าใจในงาน การสร้างพฤติกรรมที่ดี และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์การเป็นนวัตกรรมองค์การต่อไป โดยมีรายละเอียด ดังนี้

พฤติกรรมองค์การ (Organizational behavior : OB) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับบุคคล (Individual) กลุ่ม (Group) และโครงสร้าง (Structure) ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานและพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการปรับปรุงประสิทธิผลในการดำเนินงานขององค์การให้ดียิ่งขึ้น (Robbin, 2005, p.9) นอกจากนี้ ยังเป็นการศึกษาและการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการที่บุคคลและกลุ่มใช้ปฏิบัติภายในองค์การ (Newstrom & Davis, 2002) โดยการศึกษาพฤติกรรมองค์การจะประกอบด้วยการวิเคราะห์พฤติกรรมใน 3 ระดับ คือ ระดับบุคคล (Individual level) ระดับกลุ่ม (Group level) และระดับองค์การ (Organization system level) ดังนี้

1. ระดับบุคคล การวิเคราะห์องค์การในระดับนี้เป็นระดับต้น เพราะในแต่ละองค์การจะประกอบด้วยบุคคลที่มีความแตกต่างกันในแต่ละด้าน เช่น อายุ เพศ สถานภาพ ทัศนคติ ค่านิยม และระดับความสามารถ เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเปล่านี้ส่งผลต่อพฤติกรรมของคนในองค์การโดยตรงทั้งในด้านการรับรู้ การตัดสินใจ การเรียนรู้ และการจูงใจ การวิเคราะห์ระดับนี้จะทำให้สามารถบริหารจัดการบุคลากรให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภทได้

2. ระดับกลุ่ม เมื่อบุคคลทำงานร่วมกันจะส่งผลให้เกิดความคิดที่คล้อยตามกันและแตกต่างกันตามความแตกต่างของบุคคล การศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การจึงต้องวิเคราะห์ถึงพฤติกรรมของกลุ่มด้วย โดยศึกษาพื้นฐานกลไกของพฤติกรรมกลุ่มและวิธีการ ซึ่งบุคคลในกลุ่มได้รับอิทธิพลโดยรูปแบบของพฤติกรรมที่บุคคลนั้นคาดหวังจะแสดงออก การยอมรับและผลกระทบระหว่างบุคคล รวมทั้งในเรื่องการติดต่อสื่อสาร การตัดสินใจของกลุ่ม ความเป็นผู้นำ อำนาจและการเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม และระดับความขัดแย้ง ซึ่งมีผลกระทบต่อพฤติกรรมกลุ่ม เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบทีมงานให้มีประสิทธิภาพ

3. ระดับองค์การ การวิเคราะห์ระดับนี้เป็นระดับที่มีความซับซ้อนมากที่สุด เนื่องจากเป็นการรวมโครงสร้างที่เป็นทางการของพฤติกรรมในระดับบุคคลแต่ละคน และพฤติกรรมระดับกลุ่มเข้าด้วยกัน โดยจะต้องวิเคราะห์เกี่ยวกับการออกแบบองค์การที่เป็นทางการ เทคโนโลยี กระบวนการทำงาน และนโยบายทรัพยากรมนุษย์ขององค์การและการปฏิบัติ วัฒนธรรมภายใน ตลอดจนระดับความตรึงเครียดในงาน

โดยการวิเคราะห์ใน 3 ระดับข้างต้น จะทำให้ทราบข้อมูลว่าบุคลากรในหน่วยงานหรือองค์การควรมีวิธีการดำเนินงานในทิศทางใด เพื่อให้เกิดประสิทธิผลกับงานมากที่สุด ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมองค์การที่ไม่เหมาะสม จะทำให้องค์การมีการเพิ่มผลผลิต ลดการขาดงาน ลดการออกจากงาน มีพฤติกรรมการเป็นพลเมืองดีขององค์การ และเกิดความพึงพอใจในการทำงาน (ธนวรรธ ตั้งสินทรัพย์ศิริ, 2550) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. การเพิ่มผลผลิต (Productivity) เป็นการวัดผลการปฏิบัติงานโดยพิจารณาถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการดำเนินงานขององค์การ ซึ่งการดำเนินงานต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดต้องอาศัยทรัพยากรสำคัญ โดยเฉพาะทรัพยากรมนุษย์

2. ลดการขาดงาน (Absenteeism) การที่บุคลากรในหน่วยงานขาดงานอันอาจมีสาเหตุมากจากความขัดแย้งระหว่างบุคลากร จึงทำให้ไม่มาทำงาน ถือเป็นความล้มเหลวในการบริหารงานบุคคลประการหนึ่ง ผู้บริหารต้องปรับเปลี่ยนกลวิธีในการบริหาร เช่น ผลตอบแทน การจัดสวัสดิการ เพื่อให้อัตราการขาดงานของบุคลากรลดลง ฯลฯ

3. ลดการออกจากงาน (Turnover) องค์การที่มีการหมุนเวียนของบุคลากรในระดับสูงจะส่งผลให้การปฏิบัติงานขาดความต่อเนื่อง และเกิดผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายในการสรรหา คัดเลือก และฝึกอบรมบุคลากรใหม่ โดยเฉพาะการลาออกของบุคลากรที่มีคุณค่า จะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพองค์การอย่างมาก

4. พฤติกรรมองค์การเป็นพลเมืองดีขององค์การ (Organization citizenship behavior) ถึงแม้จะเป็นพฤติกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องอย่างเป็นทางการกับงาน แต่ช่วยสนับสนุนการทำงานในหน้าที่ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Robbin, 2005) องค์การจะประสบความสำเร็จ จำเป็นต้องให้บุคลากรมีความสามารถทำงานได้เพิ่มขึ้นจากภาระงานปัจจุบัน และให้มากกว่าความคาดหวังของลูกค้าหรือผู้รับบริการ เช่น ในเรื่องการช่วยเหลือกัน การทำงานเป็นทีม การหลีกเลี่ยงความขัดแย้งโดยไม่จำเป็น ฯลฯ ซึ่งในเรื่องนี้ต้องสร้างจิตสำนึกให้เกิดขึ้นกับบุคลากรในองค์การ

5. ความพึงพอใจในการทำงาน (Job satisfaction) โดยทั่วไปหากบุคลากรมีความพึงพอใจในการทำงาน จะมีผลผลิตของงานเพิ่มขึ้นมากกว่าบุคลากรที่ไม่พอใจในการทำงาน ซึ่งความไม่พอใจนั้นจะส่งผลกระทบต่อการขาดงานหรือการลาออกจากงานตามมา ผู้บริหารจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยที่เป็นตัวกระตุ้นให้พนักงานเกิดความพึงพอใจด้วย เช่น งานที่มีลักษณะท้าทาย ค่าตอบแทน เป็นต้น

การจัดการความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การเป็นหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งการจัดการความรู้จะช่วยให้เกิดการวิเคราะห์องค์การในระดับบุคคล กลุ่ม และองค์การ และมีการนำองค์ความรู้หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างๆ มาปรับให้สอดคล้องกับการพัฒนาบุคลากรและการปฏิบัติงานของบุคลากร อันส่งผลให้การดำเนินงานขององค์การมีประสิทธิภาพมากขึ้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Knowledge management with organizational behavior. By the little Professor orawan tantayaporn Knowledge management is a tool that many agencies use in enterprise development. That would make the Organization move forward with unity, or step together. It requires the development of the people in the organisation to work efficiently. In accordance with the direction and goals of the Organization, which is knowledge management (KM) is about the behavior of this organization will improve individual, team and organization to build knowledge and understanding of the job. Creating a good behaviour and causing changes to continue disseminating innovative. With details as follows: Organizational behaviour (Organizational behavior: OB) is a study about the person (Individual) Group (Group) and structure (Structure) that affect a person's behaviour and in the organisation, with the aim to improve the effectiveness in the operations of the organization. (Robbin, 2005, p.9) also is the study and application of knowledge about how individuals and groups are used to operating within the Organization (Davis & Newstrom, 2002) by organizational behavior study consists of an analysis of human behavior in 3 levels (Individual level), group (Group level) and Enterprise (Organization level system) is as follows:1. the level of the person. An analysis of the definitions in the beginning, because each organization is composed of people who differ in age, sex, marital status, each side such as attitudes, values, and so this can be an empty factor which affect the behavior of the people in the Organisation for recognition. Decision. Learning and motivation, this level of analysis makes it possible to manage personnel, suitable for each category. 2. when people work together, it will result in the idea to pass by, and vary according to individual differences. Study on analysis of enterprise behaviour need to deal with the group. By studying the basic mechanisms of behaviour and how that person in the Group has influenced by patterns of human behaviour, it hope. Recognition and effect between individuals, as well as in communication. The decision of the leadership groups and the political relationship between the Group and the level of conflicts that affect the behavior to be used in the design of effective team. 3. this level of analysis is the organization level to the level of the most complex because of the structure of human behavior in each level and group level together with analysis, design, organization, processes, technology, legal, and human resource policies and practices of the organization. The internal culture, as well as the level of stress in a job freeze. โดยการวิเคราะห์ใน 3 ระดับข้างต้น จะทำให้ทราบข้อมูลว่าบุคลากรในหน่วยงานหรือองค์การควรมีวิธีการดำเนินงานในทิศทางใด เพื่อให้เกิดประสิทธิผลกับงานมากที่สุด ซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมองค์การที่ไม่เหมาะสม จะทำให้องค์การมีการเพิ่มผลผลิต ลดการขาดงาน ลดการออกจากงาน มีพฤติกรรมการเป็นพลเมืองดีขององค์การ และเกิดความพึงพอใจในการทำงาน (ธนวรรธ ตั้งสินทรัพย์ศิริ, 2550) โดยมีรายละเอียด ดังนี้1. increasing productivity (Productivity) as a performance measure considering the effectiveness and efficiency of the operations of the Organization, in which various operations to achieve important goals needs resources, especially human resources. 2. a reduction in absence (Absenteeism), the personnel in the unit may cause absences from conflicts between people, so it does not work it is a failure in one person. Executives need to adjust tactics in administration, for example, yield. Welfare, so that the absence of a rate decrease in personnel, etc. 3. discount from enterprise with work (Turnover) of personnel turnover in the high performance will result in a lack of continuity and affect the recruitment expenses. The selection and training of new personnel, especially the resignation of valuable personnel affects the very organization performance. 4. organizational behavior is a citizen's Organization (Organization citizenship behavior), even though it is a behavior that is not relevant to the job, but official support in various duties effectively (Robbin, 2005), the Organization will be successful. It is necessary to provide people with the ability to work from the current burden, and greater customer expectations, or our services, such as for help. Working as a team. To avoid conflicts, etc., without having this issue need to create awareness, to happen to people in the organization.5. ความพึงพอใจในการทำงาน (Job satisfaction) โดยทั่วไปหากบุคลากรมีความพึงพอใจในการทำงาน จะมีผลผลิตของงานเพิ่มขึ้นมากกว่าบุคลากรที่ไม่พอใจในการทำงาน ซึ่งความไม่พอใจนั้นจะส่งผลกระทบต่อการขาดงานหรือการลาออกจากงานตามมา ผู้บริหารจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยที่เป็นตัวกระตุ้นให้พนักงานเกิดความพึงพอใจด้วย เช่น งานที่มีลักษณะท้าทาย ค่าตอบแทน เป็นต้น การจัดการความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การเป็นหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งการจัดการความรู้จะช่วยให้เกิดการวิเคราะห์องค์การในระดับบุคคล กลุ่ม และองค์การ และมีการนำองค์ความรู้หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างๆ มาปรับให้สอดคล้องกับการพัฒนาบุคลากรและการปฏิบัติงานของบุคลากร อันส่งผลให้การดำเนินงานขององค์การมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Knowledge management and organizational behavior

by Professor orawan less.

.Knowledge management is a tool that many of the units used in the development of the organization. To make the organization forward the unity or go forward together.Consistent with the direction and goal of the organization, which knowledge management (KM) on organizational behavior, will help to develop the individual or group of individuals And the organization of knowledge and understanding in creating good behavior.The
.
(Organizational behavior: organizational behaviorOB) is about a person (Individual) group (Group) and structure (Structure) impact on the operation and the behavior of individuals in the organization. The aim is to improve the operation effectiveness of the organization better.2005 p.9), also is the study and application of knowledge about how individuals and groups use practices within the organization (Newstrom. &, Davis
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: