สมัครสมาชิก เข้าระบบ  เอกชัย ตรีรัตน์สกุลชัย  บันทึก36  0 1หน้าแรกเอก การแปล -  สมัครสมาชิก เข้าระบบ  เอกชัย ตรีรัตน์สกุลชัย  บันทึก36  0 1หน้าแรกเอก อังกฤษ วิธีการพูด

 สมัครสมาชิก เข้าระบบ  เอกชัย ตรีรั


 สมัครสมาชิก เข้าระบบ


 

เอกชัย ตรีรัตน์สกุลชัย
  บันทึก36  0 1
หน้าแรกเอกชัย ตรีรัตน์สกุลชัย มารู้จักกับองค์กา...
มารู้จักกับองค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International)กันเถอะ


องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International)

องค์กรระหว่างประเทศระดับเอกชนที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนนั้นนอกเหนือจากองค์กรPLAN International ,ACTION AID ,TERRE DSE HOMMES,JRS-Jesuit Refugee Service,GREEN PEACEแล้ว ยังมีอีกองค์การหนึ่งซึ่งผู้เขียนนั้นอยากที่จะนำเสนอคือ องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International)

                องค์การนิรโทษกรรมสากล(Amnesty International) เป็นองค์กรที่เปิดรับอาสาสมัครจากนานาประเทศมาเพื่อทำงานด้านสิทธิมนุษยชน เนื่องจากเป็นองค์กรอิสระทำให้การทำงานนั้นจะไม่ได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลของสมาชิกอาสาสมัครแต่ละประเทศ  และไม่ขึ้นอยู่กับมหาอำนาจของโลก อีกทั้งยังไม่มีการแบ่งแยกเชื้อชาติศาสนา ทำให้เป็นองค์กรที่เป็นกลาง การทำงานนั้นจะมุ่งที่จะคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเพียงอย่างเดียว และภารกิจที่ผ่านมาแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ได้มีส่วนช่วยพัฒนาและร่างกฎหมายสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับสากล ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ เช่น พิธีสารเลือกรับว่าด้วยการห้ามมิให้ใช้เด็กเป็นทหาร และอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการป้องกันมิให้บุคคลหายสาบสูญโดยถูกบังคับ

                ปัจจุบันสมาชิกอาสาสมัครแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ต่างรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ซึ่งมีมากกว่า ๗,๕๐๐ กลุ่ม ทั้งที่เป็นกลุ่มเยาวชน นักเรียน และกลุ่มผู้เชี่ยวชาญพิเศษอื่น ๆ ในเกือบ ๑๐๐ ประเทศและดินแดนต่าง ๆ  มีสมาชิกนับ ๑,๐๐๐ คน จะเห็นได้ว่าต่างประเทศทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับสิทธิมนุษยชนเป็นอย่างมาก

                ในประเทศไทย ได้มีการจัดตั้งองค์กรขึ้นเป็น “สมาคมเพื่อองค์การนิรโทษกรรมสากล” ขึ้นเมื่อปี 2546 โดยงานหลักนั้นคือการส่งเริมความรู้ในด้านสิทิมนุษยชนให้กับคนไทยโดยผ่านการรณรงค์ และกิจกรรมต่างๆเช่นกิจกรรมสิทธิมนุษยชนศึกษา (HRE) เป็นงานด้านสิทธิมนุษยชนเพื่อการป้องกัน โดยการส่งเสริมความตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนโดยองค์รวม และปลูกฝังความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และทักษะที่สำคัญในการเคารพและปกป้องสิทธิเหล่านั้น สิทธิมนุษยชนศึกษาเป็นส่วนสำคัญในกิจกรรมของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ซึ่งสาขาขององค์กรกว่า 50 ประเทศมีการนำเอาวิธีการต่างๆมาใช้ในงานสิทธิมนุษยชนศึกษา การทำงานกับภาคการศึกษาของรัฐนั้น ได้แก่ การล็อบบี้รัฐบาลเพื่อสร้างหลักประกันว่าจะมีการนำเรื่องสิทธิมนุษยชนไปไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียน มหาวิทยาลัย การศึกษาของทหาร ตำรวจ และข้าราชการพลเรือน ส่วนการทำงานกับภาคเอกชนนั้น ได้แก่ การให้การศึกษากับเครือข่าย เช่น นักข่าว แพทย์ สหภาพแรงงาน สตรี กลุ่มชุมชน และกลุ่มนักเคลื่อนไหวหลากหลายประเภท สิทธิมนุษยชนศึกษา ได้กลายมาเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการพัฒนาความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ซึ่งการฝึกอบรมสิทธิมนุษยชนศึกษาครั้งแรกคือเมื่อปีพ.ศ. 2539นับแต่นั้นมา แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ได้จัดการฝึกอบรมอีกมากมายสำหรับครูอาจารย์ นักข่าว สหภาพแรงงาน และนักเรียนนักศึกษา การฝึกอบรมเหล่านี้ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในส่วนของภาครัฐ และได้มีการจัดตั้งพันธมิตรร่วมกับโรงเรียนในเครือของยูเนสโก ซึ่งมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ครูอาจารย์ได้พัฒนาบทเรียน ปรับใช้ และแปลเอกสารสิทธิมนุษยชนศึกษาของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลด้วย ซึ่งทำให้มีการตีพิมพ์หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษาในประเทศไทยเป็นครั้งแรก นอกเหนือจากนี้ ผู้เข้าร่วมในการฝึกอบรมรุ่นแรกๆยังได้ผันตัวมาเป็นผู้ดำเนินรายการร่วมในการฝึกอบรมครั้งต่อๆมา อันนำไปสู่การสร้างผู้ฝึกอบรมสิทธิมนุษยชนศึกษาที่มีความมุ่งมั่นและมีประสบการณ์ประมาณสิบท่าน

                กิจกรรมการรณรงค์ คัดค้านการใช้โทษประหารชีวิตในทุกกรณีโดยไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าจะด้วยข้ออ้างถึง รูปแบบของอาชญากรรม บุคลิกลักษณะของผู้กระทำความผิด หรือ วิธีการที่รัฐใช้ในการประหารชีวิตนักโทษเพราะงานวิจัยที่จัดทำขึ้นสำหรับสหประชาชาติในปี 2531 และ 2545 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างโทษประหารชีวิตกับอัตราการฆาตกรรม พบว่า การคงไว้ซึ่งอัตราโทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยยับยั้งอัตราการฆาตกรรมมากไปกว่าอัตราโทษจำคุกตลอดชีวิต ดังนั้น ในความเป็นจริงการคงไว้ซึ่งโทษประหารชีวิตไม่สามารถยับยั้งหรือลดจำนวนการเกิดอาชญากรรมได้นอกจากนี้ อัตราการเกิดอาชญากรรมในประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้วก็ไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นแต่อย่างใด อันที่จริง อัตราการฆาตกรรมกลับลดลงอย่างมาก เช่น ประเทศแคนาดาที่สถิติการฆาตกรรมในปัจจุบันลดลงถึงร้อยละ 40 เทียบกับสถิติตั้งแต่ปี 2518 หนึ่งปีก่อนการยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับความผิดฐานฆาตกรรมอีกทั้งโทษประหารชีวิตมักถูกใช้กับกลุ่มบุคคลเฉพาะกลุ่มซึ่งเป็นผู้ไร้อำนาจต่อรองในสังคม คนยากจน คนชายขอบ กลุ่มชาติพันธุ์หรือแม้กระทั่งใช้เป็นเครื่องมือในการปราบปรามผู้คนที่มีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาล บุคคลเหล่านี้กลายเป็นเหยื่อของกระบวนการยุติธรรมที่ไม่สมบูรณ์ บางคนถูกซ้อมทรมานเพื่อให้รับสารภาพ หรือถูกตั้งข้อกล่าวหาโดยมีเหตุจูงใจทางการเมืองเป็นเหตุให้ในปี 2546 พันธมิตรต่อต้านโทษประหารชีวิตโลก (World Coalition Against the Death Penalty - WCADP) ได้กำหนดให้วันที่ 10 ตุลาคมเป็นวันต่อต้านโทษประหารชีวิตสากล โดยมีกิจกรรมรณรงค์พร้อมๆ กันกับสมาชิกกว่า 60 ประเทศทั่วโลกในปี 2551 มีกิจกรรมเรียกร้องให้ยุติโทษประหารชีวิตในเอเชีย มีการจัดกิจกรรมกว่า 289 ครั้งในกว่า 50 ประเทศทั่วโลก ในปีนี้ การเคลื่อนไหวในเอเชียประสบความสำเร็จค่อนข้างมาก ผู้ต่อต้านโทษประหารชีวิตได้จัดกิจกรรมรณรงค์อย่างมีประสิทธิภาพ มีการส่งจดหมายประท้วงกว่า 20,000 ฉบับไปยังรัฐบาลประเทศอินเดีย ญี่ปุ่น ปากีสถาน เกาหลีใต้ ไต้หวัน และเวียดนาม ในประเทศไทย เมื่อปี 2553 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลจัดกิจกรรมรวบรวมรายชื่อผู้ที่คัดค้านโทษประหารชีวิตและเดินรณรงค์สร้างความตระหนักรู้ให้แก่บุคคลทั่วไปในกรุงเทพฯเป็นต้น

                ตามความคิดเห็นของผู้เขียนจะเห็นได้ว่าในปัจจุบันเรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องที่ทั่วโลกได้ให้ความสนในเป็นอย่างมาก การลงโทษด้วยความรุนแรง การกระทำละเมิดในสิทผธิใ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Subscribe to into the system.  Ekachai trirat surname Chai Save 36 0 1.Ekachai home victory came with known genus trirat ...More about Amnesty International (Amnesty International)?? Amnesty International (Amnesty International)International private organizations regarding human rights organization PLAN International addition, ACTION AID, TERRE, Service, Refugee JRS-Jesuit HOMMES DSE GREEN PEACE already. Also, there is another organization, one which the author so wanted to offer are Amnesty International (Amnesty International) Amnesty International (Amnesty International) is an organization that is open to international volunteers to work the human rights because it is an independent organization, it is no longer funded by the Government of each country member volunteers. And that does not depend on the superpower of the world. Also there is no racism religion makes a neutral organization. It will continue to work to protect human rights only and on past missions, manetti app International has helped develop and draft law on human rights, both at the regional and global levels, such as Protocol, select accept regulations prohibit use of children as soldiers, and the International Convention on the protection of individuals by preventing forced disappearance. The current members of volunteer international foreign manetti app together as a group, which has more than 7,500 youth group to both groups. Students and other specialist groups in almost 100 countries and territories have member counts 1,000 men will see that different countries around the world, the importance of human rights is considerable. ในประเทศไทย ได้มีการจัดตั้งองค์กรขึ้นเป็น “สมาคมเพื่อองค์การนิรโทษกรรมสากล” ขึ้นเมื่อปี 2546 โดยงานหลักนั้นคือการส่งเริมความรู้ในด้านสิทิมนุษยชนให้กับคนไทยโดยผ่านการรณรงค์ และกิจกรรมต่างๆเช่นกิจกรรมสิทธิมนุษยชนศึกษา (HRE) เป็นงานด้านสิทธิมนุษยชนเพื่อการป้องกัน โดยการส่งเสริมความตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนโดยองค์รวม และปลูกฝังความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม และทักษะที่สำคัญในการเคารพและปกป้องสิทธิเหล่านั้น สิทธิมนุษยชนศึกษาเป็นส่วนสำคัญในกิจกรรมของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ซึ่งสาขาขององค์กรกว่า 50 ประเทศมีการนำเอาวิธีการต่างๆมาใช้ในงานสิทธิมนุษยชนศึกษา การทำงานกับภาคการศึกษาของรัฐนั้น ได้แก่ การล็อบบี้รัฐบาลเพื่อสร้างหลักประกันว่าจะมีการนำเรื่องสิทธิมนุษยชนไปไว้ในหลักสูตรการเรียนการสอนของโรงเรียน มหาวิทยาลัย การศึกษาของทหาร ตำรวจ และข้าราชการพลเรือน ส่วนการทำงานกับภาคเอกชนนั้น ได้แก่ การให้การศึกษากับเครือข่าย เช่น นักข่าว แพทย์ สหภาพแรงงาน สตรี กลุ่มชุมชน และกลุ่มนักเคลื่อนไหวหลากหลายประเภท สิทธิมนุษยชนศึกษา ได้กลายมาเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการพัฒนาความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ซึ่งการฝึกอบรมสิทธิมนุษยชนศึกษาครั้งแรกคือเมื่อปีพ.ศ. 2539นับแต่นั้นมา แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ได้จัดการฝึกอบรมอีกมากมายสำหรับครูอาจารย์ นักข่าว สหภาพแรงงาน และนักเรียนนักศึกษา การฝึกอบรมเหล่านี้ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในส่วนของภาครัฐ และได้มีการจัดตั้งพันธมิตรร่วมกับโรงเรียนในเครือของยูเนสโก ซึ่งมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ครูอาจารย์ได้พัฒนาบทเรียน ปรับใช้ และแปลเอกสารสิทธิมนุษยชนศึกษาของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลด้วย ซึ่งทำให้มีการตีพิมพ์หลักสูตรสิทธิมนุษยชนศึกษาในประเทศไทยเป็นครั้งแรก นอกเหนือจากนี้ ผู้เข้าร่วมในการฝึกอบรมรุ่นแรกๆยังได้ผันตัวมาเป็นผู้ดำเนินรายการร่วมในการฝึกอบรมครั้งต่อๆมา อันนำไปสู่การสร้างผู้ฝึกอบรมสิทธิมนุษยชนศึกษาที่มีความมุ่งมั่นและมีประสบการณ์ประมาณสิบท่าน กิจกรรมการรณรงค์ คัดค้านการใช้โทษประหารชีวิตในทุกกรณีโดยไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าจะด้วยข้ออ้างถึง รูปแบบของอาชญากรรม บุคลิกลักษณะของผู้กระทำความผิด หรือ วิธีการที่รัฐใช้ในการประหารชีวิตนักโทษเพราะงานวิจัยที่จัดทำขึ้นสำหรับสหประชาชาติในปี 2531 และ 2545 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างโทษประหารชีวิตกับอัตราการฆาตกรรม พบว่า การคงไว้ซึ่งอัตราโทษประหารชีวิตไม่ได้ช่วยยับยั้งอัตราการฆาตกรรมมากไปกว่าอัตราโทษจำคุกตลอดชีวิต ดังนั้น ในความเป็นจริงการคงไว้ซึ่งโทษประหารชีวิตไม่สามารถยับยั้งหรือลดจำนวนการเกิดอาชญากรรมได้นอกจากนี้ อัตราการเกิดอาชญากรรมในประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้วก็ไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นแต่อย่างใด อันที่จริง อัตราการฆาตกรรมกลับลดลงอย่างมาก เช่น ประเทศแคนาดาที่สถิติการฆาตกรรมในปัจจุบันลดลงถึงร้อยละ 40 เทียบกับสถิติตั้งแต่ปี 2518 หนึ่งปีก่อนการยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับความผิดฐานฆาตกรรมอีกทั้งโทษประหารชีวิตมักถูกใช้กับกลุ่มบุคคลเฉพาะกลุ่มซึ่งเป็นผู้ไร้อำนาจต่อรองในสังคม คนยากจน คนชายขอบ กลุ่มชาติพันธุ์หรือแม้กระทั่งใช้เป็นเครื่องมือในการปราบปรามผู้คนที่มีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาล บุคคลเหล่านี้กลายเป็นเหยื่อของกระบวนการยุติธรรมที่ไม่สมบูรณ์ บางคนถูกซ้อมทรมานเพื่อให้รับสารภาพ หรือถูกตั้งข้อกล่าวหาโดยมีเหตุจูงใจทางการเมืองเป็นเหตุให้ในปี 2546 พันธมิตรต่อต้านโทษประหารชีวิตโลก (World Coalition Against the Death Penalty - WCADP) ได้กำหนดให้วันที่ 10 ตุลาคมเป็นวันต่อต้านโทษประหารชีวิตสากล โดยมีกิจกรรมรณรงค์พร้อมๆ กันกับสมาชิกกว่า 60 ประเทศทั่วโลกในปี 2551 มีกิจกรรมเรียกร้องให้ยุติโทษประหารชีวิตในเอเชีย มีการจัดกิจกรรมกว่า 289 ครั้งในกว่า 50 ประเทศทั่วโลก ในปีนี้ การเคลื่อนไหวในเอเชียประสบความสำเร็จค่อนข้างมาก ผู้ต่อต้านโทษประหารชีวิตได้จัดกิจกรรมรณรงค์อย่างมีประสิทธิภาพ มีการส่งจดหมายประท้วงกว่า 20,000 ฉบับไปยังรัฐบาลประเทศอินเดีย ญี่ปุ่น ปากีสถาน เกาหลีใต้ ไต้หวัน และเวียดนาม ในประเทศไทย เมื่อปี 2553 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลจัดกิจกรรมรวบรวมรายชื่อผู้ที่คัดค้านโทษประหารชีวิตและเดินรณรงค์สร้างความตระหนักรู้ให้แก่บุคคลทั่วไปในกรุงเทพฯเป็นต้น According to the opinions of authors can be seen in the matter of human rights as a subject in the world, in very seriously. To punish with severity the actions violated in thaphathi
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: